Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVorawut Thanthitaweewat-
dc.contributor.authorJitanong Sootlek-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2023-08-04T06:08:47Z-
dc.date.available2023-08-04T06:08:47Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82558-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022-
dc.description.abstractBackground: Malignant pleural effusion (MPE) can cause dyspnea symptoms that greatly impact a patient's quality of life. Talc pleurodesis or indwelling pleural catheter (IPC) insertion are two treatment options that can prevent recurrent MPE, alleviate dyspnea, and improve quality of life. However, talc pleurodesis requires a lengthy hospital stay, while IPC insertion is associated with lower pleurodesis success rates. Due to limited hospital bed capacity, we have devised a practical approach to managing MPE by combining TTP and IPC. Objective: This study aims to evaluate the efficacy of combined Thoracoscopic talc poudrage (TTP) and IPC compared to TTP alone in patients with symptomatic MPE. Methods: The study was conducted as a randomized non-inferiority trial at a single center. Patients were randomly allocated to receive either TTP and IPC or TTP alone. The study collected demographic data, hospital length of stay (LOS), symptoms, and pleurodesis success rates. The primary outcome of the study was the success rate of pleurodesis at 12 weeks post-procedure. Results: Preliminary data analysis from 26 patients with a mean age of 61 years showed that the baseline characteristics were similar between the two groups, except for the baseline mean VAS dyspnea score, which was significantly higher in the TTP+IPC group. Successful pleurodesis at 12 weeks was achieved in 88.89% of the TTP+IPC group and 64.29% of the TTP alone group, with a difference of 24.6% [95% CI, -7.83% to 57.03%]. Additionally, the TTP+IPC group showed a greater reduction in dyspnea, less pain following the procedure, and less analgesic medication use. The hospital LOS was also shorter, and the overall quality of life was significantly better. Furthermore, there was no difference in the incidence of complications between the two groups. Conclusion: Combining thoracoscopic talc pleurodesis and IPC is both effective and safe for treating symptomatic MPE patients.-
dc.description.abstractalternativeหลักการและเหตุผล: ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดจากมะเร็งแพร่กระจายสามารถทำให้ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยและกระทบต่อคุณภาพชีวิต โดยสามารถรักษาด้วยการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดด้วยผงทัลค์ หรือการใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนัง เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำของน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ลดอาการเหนื่อยและช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วย การรักษาด้วยการเชื่อมเยื่อมหุ้มปอดด้วยผงทัลค์จะต้องใช้เวลานอนโรงพยาบาลหลายวัน ในขณะที่การใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนังมีอัตราความสำเร็จของการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดต่ำกว่า เนื่องด้วยข้อจำกัดเรื่องอัตราการครองเตียงในโรงพยาบาล ผู้วิจัยจึงพัฒนาวิธีการรักษาภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดจากภาวะมะเร็งแพร่กระจายโดยใช้วิธีการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดและพ่นผงทัลค์ร่วมกับการใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนัง วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการรักษาภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดจากมะเร็งแพร่กระจายโดยใช้วิธีการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดและพ่นผงทัลค์ร่วมกับการใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนังเปรียบเทียบกับการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดและพ่นผงทัลค์แบบวิธีปกติ วิธีการดำเนินการวิจัย: การศึกษาได้ดำเนินการเป็นการทดสอบความไม่ด้อยกว่าแบบสุ่ม ผู้ป่วยได้ถูกสุ่มแบ่งเป็นสองกลุ่มเพื่อเข้ารับการรักษาด้วยวิธีการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดและพ่นผงทัลค์ร่วมกับการใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนัง หรือการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดและพ่นผงทัลค์แบบวิธีปกติ การศึกษาได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะประชากร, ระยะเวลานอนโรงพยาบาล, อาการและอัตราสำเร็จของการเชื่อมเยื่อหุ้มปอด ผลลัพธ์หลักของการศึกษาคืออัตราสำเร็จของการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดที่ 12 สัปดาห์หลังการทำหัตถการ ผลการวิจัย: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นจากผู้ป่วย 26 ราย มีอายุเฉลี่ย 61 ปี พบว่าลักษณะพื้นฐานของผู้ป่วยในทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ยกเว้นคะแนนความเหนื่อยเฉลี่ยเริ่มต้นที่สูงกว่าในกลุ่มทดลอง พบอัตราความสำเร็จของการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดในกลุ่มทดลองร้อยละ 88.89 และกลุ่มควบคุมร้อยละ 64.29% โดยมีความแตกต่าง 24.6% [95% CI, -7.83% to 57.03%]นอกจากนี้กลุ่มที่ใช้สองวิธีร่วมกัน ยังพบว่ามีการลดลงของคะแนนความเหนื่อยที่มากกว่า มีอาการเจ็บหลังทำหัตถการน้อยกว่ารวมถึงใช้ยาแก้ปวดน้อยกว่า ระยะเวลาในการรักษาในโรงพยาบาลสั้นกว่า และคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ ไม่มีความแตกต่างในอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างกลุ่มการรักษาสองกลุ่มนี้ สรุป: การรักษาด้วยการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดและพ่นผงทัลค์ร่วมกับการใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนังมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยในการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการเหนื่อยจากภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดจากมะเร็งแพร่กระจาย-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.248-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.subject.classificationHuman health and social work activities-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.titleComparing the Success Rate of Pleurodesis with Thoracoscopic Talc Poudrage Combined with Indwelling Pleural Catheter versus Thoracoscopic Talc Poudrage in Patient with Malignant Pleural Effusion, A Randomized, Non-inferiority Clinical Trial-
dc.title.alternativeการศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มและไม่ด้อยกว่าเปรียบเทียบอัตราความสำเร็จของการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับการใส่สายระบายทรวงอกชนิดฝังใต้ผิวหนังกับการเชื่อมเยื่อหุ้มปอดผ่านการส่องกล้องช่องเยื่อหุ้มปอดในผู้ป่วยที่มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดจากภาวะมะเร็งแพร่กระจาย-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineMedicine-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.248-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6470091530.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.