Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวริศ วงศ์พิพิธ-
dc.contributor.advisorสุธนะ ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorฐิติพัฒน์ รื่นอารมย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-08-04T06:36:02Z-
dc.date.available2023-08-04T06:36:02Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82687-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความชุกของความสามารถในการปฏิบัติตามคำแนะนำการเคลื่อนไหวตลอด 24 ชั่วโมงสำหรับเด็กและเยาวชน และ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการปฏิบัติตามคำแนะนำการเคลื่อนไหวตลอด 24 ชั่วโมงสำหรับเด็กและเยาวชนที่มีต่อองค์ประกอบของร่างกาย ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยกลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 824 คน (n=824) ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (Linear regression) โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า มีกลุ่มตัวอย่าง เพียงร้อยละ 0.48 (4 คน) เท่านั้น ที่สามารถปฏิบัติตามคำแนะนำได้ และผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า 1) การปฏิบัติตามคำแนะนำการเคลื่อนไหวตลอด 24 ชั่วโมงสำหรับเด็กและเยาวชนในด้านกิจกรรมทางกาย และการนอนหลับมีความสัมพันธ์ต่อเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และในด้านการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งมีความสัมพันธ์ต่อเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสัมพันธ์กับดัชนีมวลกาย พบว่า การปฏิบัติตามคำแนะนำการเคลื่อนไหวตลอด 24 ชั่วโมงสำหรับเด็กและเยาวชนในทุก ๆ ด้าน ได้แก่ กิจกรรมทางกาย พฤติกรรมเนือยนิ่ง และการนอนหลับ มีความสัมพันธ์ต่อดัชนีมวลกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความสัมพันธ์กับกับเส้นรอบเอว พบว่า การปฏิบัติตามคำแนะนำการเคลื่อนไหวตลอด 24 ชั่วโมงสำหรับเด็กและเยาวชน ในด้านการนอนหลับ มีความสัมพันธ์ต่อเส้นรอบเอว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were 1) to evaluate the prevalence of students who could comply with the 24-hour movement guideline, and 2) to determine the relationship between 24-hour movement guideline compliance and body composition in lower secondary school students in Bangkok Metropolitan Region. Eight hundred twenty-four students participated in the study using purposive sampling. Frequency, percentage, mean, standard deviation, and linear regression were analysed. The results showed that only 0.48% (4 people) were able to comply with the guideline. Moreover, the compliance with the guideline in terms of physical activity and sleep were significantly associated with body fat percentage (P<.05) 2) body mass index was associated with the compliance with the guidelines in all aspects (i.e., physical activity sedentary behavior, and sleep) (P<.05) 3) waist circumference was associated with the compliance with guidelines only in sleep aspect (P<.05).-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.986-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามคำแนะนำการเคลื่อนไหว 24 ชั่วโมง และองค์ประกอบของร่างกายของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น-
dc.title.alternativeRelationship between the 24-H movement guideline compliance and body composition of lower secondary school students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.986-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380044927.pdf4.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.