Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83467
Title: | การปรับปรุงกระบวนการคำสั่งซื้อของลูกค้า : กรณีศึกษา บริษัท Freight forwarder |
Other Titles: | Improving customer order processing: case study of freight forwarder company |
Authors: | ชนัสฐา คณะทอง |
Advisors: | สมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | การจัดซื้อ การบริหารงานโลจิสติกส์ Purchasing Business logistics |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการดำเนินการของแผนกส่งออกทางทะเลของบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าแห่งหนึ่งโดยศึกษาด้วยเงื่อนไขการซื้อขายแบบ FOB, EXW และ CIF โดยงานใช้การศึกษากระบวนการทำงานโดยแผนผัง Flow chart และแผนผัง IDEFO เพื่อระบุกิจกรรมหลักทั้งหมดที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียด นอกจากนี้ ศึกษาผ่านแบบสอบถาม พนักงานที่เกี่ยวข้องและลูกค้า เพื่อระบุปัญหาของกิจกรรมที่พบ ซึ่งจากการวิจัยพบว่าปัญหาที่สำคัญที่สุด 3 ประการคือ 1) ความคลาดเคลื่อนของต้นทุนขายและใบแจ้งหนี้ของสายเรือ 2) ความล่าช้าในการแก้ไขหรือยืนยันใบตราส่ง และ 3) ข้อผิดพลาดในการยืนยันการจองระวางเรือ โดยได้ใช้แผนภาพก้างปลาในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเหล่านี้ ซึ่งผลจากการศึกษานำไปสู่การนำเสนอแนวทางการปรับปรุงด้วยเครื่องมือ ECRS (การกำจัด, การรวบรวม, การจัดเรียงใหม่ และการทำให้ง่ายขึ้น) |
Other Abstract: | This research aims to improve the order processing process of the sea export department of a freight forwarder company that focus on shipments with the FOB, EXW, and CIF terms. The investigation begins with the process mapping using the flow chart and IDEFO methods to thoroughly identify all key activities involved. Additionally, through a questionnaire survey related employees and customers are asked to identify problems encountered. The research finds that the three most significant problems are 1) the discrepancy in the sales cost and the shipping invoice, 2) the delay in correcting or confirming the bill of lading, and 3) the errors in booking confirmation. Fish bone diagrams are used to analyze the root causes of these problems. Finally, initiatives developed under the ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange and Simplify) framework are proposed to improve the processes. |
Description: | สารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83467 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.198 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2022.198 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Grad - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6480029720_Chanattha_Kana_2565.pdf | สารนิพนธ์ | 4.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.