Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83560
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | บรรเจิด จงสมจิตร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-22T04:03:30Z | - |
dc.date.available | 2023-09-22T04:03:30Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83560 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีองค์ประกอบของอะลูมิเนียม (Al) และซิลิคอน (Si) ได้แก่ เบต้าซีโอไลท์ (HBZ) อะลูมินาที่มีเฟสผสมระหว่างแกมม่ากับไค (M-Al) และอะลูมินาที่มีเฟสแกมม่า (G-Al) ที่ถูกปรับปรุงด้วยแพลเลเดียม (Pd) เติมลงไป 0.5 เปอร์เซ็นโดยน้ำหนัก เพื่อใช้ปฏิกิริยาดีไฮเดรชันของเอทานอลไปเป็นเอทิลีนและไดเอทิลอีเทอร์ พบว่าเมื่อนำตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้ไปใช้ในช่วงอุณหภูมิ 200 ถึง 400 องศาเซลเซียส ในภาวะการทำปฏิกิริยาภายใต้วัฏภาคแก๊สของเอทานอล พบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาเบต้าซีโอไลท์จะให้ผลิตผลของเอทิลีนสูงสุดที่ 99 เปอร์เซ็น ที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส โดยพบว่าการปรับปรุงด้วยแพลเลเดียมจะไม่ส่งผลต่อการผลิตเอทิลีน แต่การปรับปรุงเบต้าซีโอไลท์ด้วยแพลเลเดียมจะช่วยให้ผลผลิตของไดเอทิลอีเทอร์สูงขึ้น โดยได้ผลผลิตของไดเอทิลอีเทอร์ที่สูงที่สุด อยู่ที่ 48 เปอร์เซ็น ที่อุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส ดังนั้นตัวเร่งปฏิกิริยาเบต้าซีโอไลท์จึงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมสำหรับการเปลี่ยนเอทานอลไปเป็นเอทิลีนและไดเอทิลอีเทอร์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study aims to investigate the production of ethylene and diethyl ether from ethanol via catalytic dehydration using Si- and Al-based catalysts with Pd modification. First, six catalysts including H beta zeolite (HBZ), mixed phases of γ-χ-Al₂O₃ (M-Al) and γ- Al₂O₃ (G-Al) with and without Pd modification (0.5 wt%) were prepared. The catalytic dehydration of vaporized ethanol at temperature ranging from 200 to 400 °C was performed over the catalysts. For ethylene production, the most promising catalyst is HBZ (giving ethylene yield of ca. 99% at 400 °C), whereas Pd modification has no significant effect on ethylene production. Considering the production of diethyl ether, it is produced at lower temperature (ca. 250 °C) than that of ethylene. The most active catalyst to produce diethyl ether is HBZ with Pd modification (giving diethyl ether yield of ca. 48% at 250 °C). Thus, increased diethyl ether yield can be achieved with Pd modification at low temperature for the HBZ catalyst. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2561 (สัญญา เลขที่ GB-A_61_033_21_07) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เอทานอล | en_US |
dc.subject | การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ | en_US |
dc.subject | Ethanol | en_US |
dc.subject | Heterogeneous catalysis | en_US |
dc.title | การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์เพื่อการเปลี่ยนเอทานอลไปเป็นสารเคมีที่มีมูลค่าเพิ่ม | en_US |
dc.title.alternative | Development of heter ogeneous catalsts for catalytic conversion of ethanol to value-added chemicals | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Bunjerd_Jo_Res_2562.pdf | 30.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.