Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83624
Title: หอยทากบกในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี: พื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดน่าน : รายงานผลการดำเนินงาน
Authors: จิรศักดิ์ สุจริต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: หอยทากบก
Land snails
Issue Date: 2561
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาและสำรวจหอยทากบกในพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ฯ พระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี: พื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดน่าน ในสภาพพื้นที่ธรรมชาติ มุ่งเน้นที่กลุ่มหอยขัดเปลือกที่พบได้ทั่วไปวงศ์ Ariophantide โดยมี หอยหอยขัดเปลือกที่จัดได้ว่าพบได้ทั่วไปและมีการแพร่กระจายกว้างทั่วประเทศไทย 2 สปีชีส์ คือหอย ทากสยาม Cryptozona siamensis และหอยขัดเปลือกธรรมดา Sarika resplenden จากเอกสารที่ รายงานเกี่ยวกับหอยในวงศ์นี้ในพื้นที่ใกล้เคียงกับประเทศไทยและมีแนวโน้มที่จะพบวงศ์หอยขัดเปลือก ในประเทศไทย มีอยู่ประมาณ 60 สปีชีส์ โดยในพื้นที่ อพ.สธ. ทั้งในภาคตะวันออกและภาคตะวันตกพบ แล้วประมาณ 12-15 สปีชีส์ แต่ส่วนใหญ่ไม่สามารถตรวจหาชื่อวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งจากการศึกษากาย วิภาคระบบสืบพันธุ์ในขั้นต้นของกลุ่มหอยวงศ์หอยขัดเปลือกที่สามารถตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ได้ 12 สปีชีส์ พบว่าส่วนของอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ในหอยเดื่อ “Hemiplecta” weinkauffiana มีลักษณะ สัณฐานที่แตกต่างจากของวงศ์ Ariophantidae แต่เหมือนกับเวียนซ้ายวงศ์ Dyakiiade นอกจากนี้ยัง พบหอยเดื่อดำ Hemiplecta funerea ที่เป็นหอยเฉาพะถิ่นพบที่จังหวัดน่าน ซึ่งมีรายงานครั้งแรกเมื่อปี 1896 (พ.ศ. 2439) ที่ประเทศไทย และหลังจากนั้นก็ไม่เคยมีรายงานอีกจนกระทั่งการศึกษาในกครั้งนี้ ซึ่งเป็นประเด็นทางอนุกรมวิธานที่สำคัญที่จะรายงานการค้นพบอีกครั้ง
Other Abstract: This land snails survey was conducted under the Plant Genetic Conservation Project under the Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn mainly in the natural and anthropogenic habitats in Nan Province. Focusing on the common ground snail’s family Ariophantidae, Cryptozona siamensis and Sarika resplenden which have widely distributed throughout the country. Form the literatures and the previous recorded from nearby countries, Thailand tended to have much diverse the ariophantids snails nearly 60 nominal species throughout the country. In this study consisted of at least 12 nominal species of the ariophantid snails. Based on both shell and genitalia morphology, there are 12 species that can be identified into the species level, and the less species are from juveniles specimens. Form this study, indicated that shape and structure of male genital organs: penis, epiphallus and flagellum are useful character for species identification and specific to the family leve. The “Hemiplecta” weinkauffiana have unique and distinct male genitalia characters from the other confamily; in the other hand these are the unique characters of the Dyakiidae. Moreover, the locally endemic of Hemiplecta funerea from Nan Province. This species has been described in 1896 and since then none of the subsequent report until this study. This is the case in taxonomy and re-description of the species.
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83624
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chirasak_Su_Res_2562.pdf18.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.