Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสันติ เล็กสุขุม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา-
dc.date.accessioned2023-11-15T09:18:33Z-
dc.date.available2023-11-15T09:18:33Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83734-
dc.descriptionพุทธศิลป์ลำพูน -- พุทธศิลป์เชียงใหม่ -- พุทธศิลป์ลำปาง -- พุทธศิลป์แพร่ -- พุทธศิลป์น่าน -- พุทธศิลป์ลำปาง -- พุทธศิลป์พะเยา -- พุทธศิลป์เชียงราย -- พุทธศิลป์เชียงแสนen_US
dc.description.abstractเก่าแก่โบราณกาล วัดเป็นที่รวมของพุทธศิลป์ภายใต้การอุปถัมภ์ค้ำจุนของกษัตริย์ เจ้าเมือง บรรดาผู้ปกครองเมือง พุทธศิลป์เก่าแก่ที่สุดทางภาคเหนือมีอายุมาแล้วอย่างน้อยก็กว่าแปดร้อยปี คือศิลปะหริภุญชัย หรือพุทธศิลป์หริภุญชัย ศูนย์กลางอยู่ที่ลำพูน ศิลปะหริภุญชัยสะท้อนอดีตของความเป็นศูนย์กลางสำคัญทางพุทธศาสนา ต่อมาได้ถ่ายทอดแรงบันดาลใจให้ช่างพุทธศิลป์ล้านนาสมัยราชธานีเชียงใหม่ แต่หริภุญชัยก็ยังเป็นศูนย์กลางพุทธศิลป์ ผ่านมาถึงปัจจุบัน เชียงใหม่เป็นทั้งเมืองท่องเที่ยวหลักและเป็นศูนย์รวมของวัดที่มั่งคั่งด้วยพุทธศิลป์ล้านนาร่วมสมัย ความเป็นศูนย์กลางพุทธศิลป์ล้านนาของเชียงใหม่มีพัฒนาการอย่างสำคัญอีกครั้งเมื่อราว 20 ปีก่อน มีการพุทธศิลป์มาประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจและการท่องเที่ยว เช่นงานจำลองลักษณะงดงาม ประณีตของพุทธศิลป์จากวัดสำคัญในภาคเหนือ (ล้านนา) และจากประเทศพม่า ประเทศลาว มาประยุกต์สร้างเป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว ดังกล่าวนี้ ได้หวนกลับมาสู่วัด โดยพัฒนาเป็นพุทธศิลป์อันวิจิตร มีความพิสดารมากหลายยิ่งขึ้น ทั้งงานสร้าง บูรณะ ปฏิสังขรณ์ แหล่งผลิตช่างพุทธศิลป์สำคัญ ได้แก่ สถาบันการศึกษาในเชียงใหม่ วัดคือแหล่งสำคัญที่สุด ที่สะสม สั่งสมประสบการณ์ “อนุรักษ์และพัฒนางานพุทธศิลป์” งานพุทธศิลป์คืองานสะท้อนสังคม คือมรดกทางสังคม ขณะเดียวกันเป็นเสน่ห์ดึงดูดด้านการท่องเที่ยว เมื่อควบรวมกับตำนานหรือประวัติความเป็นมา และพุทธธรรมคำสั่งสอน หรือคำเล่าลือเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ จึงโน้มนำผู้มีศรัทธา ตามมาด้วยการทำบุญบริจาค แต่คงมีข้อห่วงใยว่าพุทธศิลป์อันงดงามในวัดขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ในหรือนอกเมืองก็ตาม ที่เป็นส่วนสำคัญอยู่ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของภาคเหนือซึ่งจำนวนนักท่องเที่ยวที่มากขึ้นเป็นลำดับทวีคูณ ยิ่งเมื่อบางวัดคิดแข่งขันในการสร้าง บูรณปฏิสังขรณ์ ให้พุทธศิลป์ในวัดมีความสวยงาม วิจิตรพิสดาร ผนวกกรรมวิธีต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความเลื่อมใสศรัทธาเพื่อการทำบุญบริจาคด้วย ยิ่งเพิ่มภาระด้านค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของวัด เป็นเงาตามตัว วัดต้องคิดหากลวิธีหลากหลายเพื่อระดมทุน โดยหาวิธีจูงใจให้ผู้คนมีศรัทธามาทำบุญบริจาค แนวโน้มปัจจุบันของพุทธศิลป์และพัฒนาการในภาคเหนือ อันมีเหตุปัจจัยดังที่กล่าวมา ทำให้นึกหาคำตอบว่าระหว่างพุทธศิลป์เพื่อการท่องเที่ยววัด เรียกอีกอย่างว่า “อุทยานพุทธศิลป์ ” กับ “พุทธศิลป์เพื่อพระศาสนา” มีความแตกต่างกันหรือไม่ ดีมากดีน้อยกว่ากันอย่างไรในกระแสการท่องเที่ยวอันเป็นรายได้หลักที่สำคัญของประเทศen_US
dc.description.abstractalternativeSince ancient time, temples are the places where Buddhist art has been gathered under the patronage of kings, princes and rulers. The oldest Buddhist art in the northern region of Thailand, i.e. Haripunchai art or Haripunchai Buddhist art which had the center in Lamphun province, dated back to more than 800 years ago. Haripunchai Buddhist art mirrors its past as the center of Buddhism in this region that the inspiration on Buddhist art was passed on to Chiang Mai Capital, the center of Buddhist art from the past to present. Nowadays, Chiang Mai is the main city for tourism and center of temples which are flourished with temporary Lanna art. Centralization of Lanna Buddhist art in Chiang Mai has been interestingly developed since approximately 15 years ago that the Buddhist art was adapted and applied for business and tourism. For example, the beauty and delicacy of Buddhist art from outstanding temples in the northern region (Lanna), Myanmar and Laos were replicated and adapted for constructing five-star hotels. Later the development has turned to temples and created various kinds of exquisite and delicate Buddhist art in the process of construction, restoration and reconstruction. The sources of Buddhist art craftmanship are the educational institutions in Chiang Mai. Temples are the most important places for collecting experiences in “reservation and development of Buddhist art”. On one hand Buddhist art reflexes society and is regarded as social heritage and on the other hand it has a role as tourism attraction. When it merges with legends, history, Buddhism teachings or miracles, pilgrims and tourists are persuaded to visit the temples, make merit and donate their money. However, there is one concern that, once the Buddhist art in small or large temples, in the urban or suburban areas, have the important role in the tourism industry in the northern region and some temples have tried to construct or restore the Buddhist art in their premises and make it extraordinary for attracting tourists and donation, the temples must consequently bear high maintenance costs and expenses and may have to find a gimmick to convince and attract visitors for donation. From the above causes and effects, the current trend of Buddhist art and its development in the northern region may lead to the questions whether the Buddhist art for tourism attraction or so-called “Buddhist-art park” is different from “Buddhist art dedicated to Buddhism”, and which one is better in the flow of tourism that is now the main earning source of the country.en_US
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยพุทธศาสน์ศึกษาของศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2561 - 2562en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพุทธศาสนาen_US
dc.subjectพระพุทธรูปen_US
dc.subjectศิลปกรรมพุทธศาสนาen_US
dc.titleพุทธศิลป์ภาคเหนือ : ศรัทธากับการท่องเที่ยว : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativeNorthern Buddhist art : faith & tourismen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:CUBS - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Santi_Le_Res_2561.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)225.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.