Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8378
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิสุทธิ์ ช่อวิเชียร | - |
dc.contributor.author | ธนิต ธงทอง | - |
dc.contributor.author | วิศณุ ทรัพย์สมพล | - |
dc.contributor.author | วีระศักดิ์ ลิขิตเรืองศิลป์ | - |
dc.contributor.author | วัชระ เพียรสุภาพ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2008-10-28T03:25:53Z | - |
dc.date.available | 2008-10-28T03:25:53Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8378 | - |
dc.description.abstract | งานก่อสร้างพื้นฐานในปัจจุบัน จำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีหลายประเภทเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เทคโนโลยีด้านเครื่องจักรกล เทคนิคก่อสร้าง และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น เพื่อบรรลุผลของการใช้งานเทคโนโลยี ผู้ใช้จำเป็นต้องเรียนรู้ลักษณะของเทคโนโลยี และมีความเข้าใจในกระบวนการที่ใช้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้ถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการถ่ายโอนความรู้ทั้งภายในและระหว่างองค์กร แต่ในปัจจุบันงานก่อสร้างยังไม่มีการพัฒนาแบบแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างเป็นรูปธรรมและเกิดความชัดเจน ดังนั้นงานวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแบบแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีประเภทต่างๆ ในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของหน่วยงานภาครัฐภายในประเทศ โดยข้อมูลที่นำเสนอได้มาจากการสัมภาษณ์บุคลากรในองค์กรผู้รับเหมาก่อสร้างประเภทรับเหมางานเดี่ยว และกิจการค้าร่วม รวมถึงบุคลากรในหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง โดยผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้แบบแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นแม่แบบในการศึกษา จากผลการวิเคราะห์พบว่าแบบแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีแต่ละชนิด มีความแตกต่างในรายละเอียดของกระบวนการ บุคลากรที่สนับสนุน และปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณาเพื่อสนับสนุนให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีในขั้นตอนต่างๆ นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าการกำหนดแบบแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีประเภทต่างๆนั้นจะช่วยให้หน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทราบถึงขั้นตอนต่างๆที่เกี่ยวข้องในการถ่ายทอดเทคโนโลยีซึ่งช่วยให้สามารถปรับปรุงขั้นตอนการถ่ายทอดเทคโนโลยี และจัดสรรบุคลากรเพื่อรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น โดยแบบแผนดังกล่าวนี้ถือเป็นเครื่องมือที่สามารถพัฒนาเพื่อใช้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีในด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | Most construction infrastructure projects need to improve their work efficiency by using many kinds of technologies, such as technology of equipment, construction technique and information technology. To achieve this objective of using those technologies, users need to know how to apply information of technology and have to understand process of Technology Transfer (TT). Both skills are the basic knowledge for transferring technology between inter-organization and intra-organization. However, few construction organizations recognize the importance of developing the Technology Transfer framework. This can cause the slow and discontinuous technology transfer that occurs in their organizations. To improve TT implementation, this research aims to propose the framework of TT in construction projects. The research approach can be classified as case study and interview was selected as the data collection technique. The data was gathered by interviewing contractors’ staff who worked in the joint venture construction and the resource of the government organization who concern in each construction project. The model of TT from the literature review was approved to analyze the data, and the result show that each framework to TT in construction has the different detail. For example, the technology of design has a different process comparing to the technology of equipment. This framework also provides details information that influence on TT, for example source of technology, supporter involvement, and criteria. By adopting this framework, the contractor and owner are able to plan and monitor the process of technology transfer in the construction project. Furthermore, this framework can be applied as a tool for developing TT system in construction industry. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2548 | en |
dc.format.extent | 24737126 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.ispartofseries | โครงการวิจัยเลขที่ 77G-CE-2548 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การถ่ายทอดเทคโนโลยี | - |
dc.subject | สาธารณูปโภค | - |
dc.subject | การก่อสร้าง | - |
dc.title | ระบบการถ่ายทอดเทคโนโลยีสำหรับโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | fcevcc@eng.chula.ac.th | - |
dc.email.author | fcettt@eng.chula.ac.th, Tanit.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | wisanu.s@chula.ac.th | - |
dc.email.author | fcevlk@eng.chula.ac.th | - |
dc.email.author | pvachara@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.