Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทรรัฐ จันทร์ฉายทอง-
dc.contributor.authorนัทธี อ่ำอินทร์-
dc.contributor.authorเผด็จ ธรรมรักษ์-
dc.contributor.authorณุวีร์ ประภัสระกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-12-08T07:07:54Z-
dc.date.available2023-12-08T07:07:54Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83850-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาการกระจาย คุณลักษณะทางพันธุกรรมและความไวรับต่อยาต้านจุลชีพของเชื้อ methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ที่พบในสุกรและผู้เลี้ยงสุกรในเขตภาคกลางของประเทศไทย ผลการศึกษาพบความชุกเชื้อ MRSA รอยละ 9.72 (59 จาก 607 ตัวอย่าง) จากตัวอย่างจากเยื่อบุช่องจมูกสุกร พบความชุกฝูงร้อยละ 37.02 (10 จาก 27 ฟาร์ม) และพบความชุกในผู้เลี้ยงสุกร ร้อยละ 7.83 (3 จาก 38 คน) เชื้อ MRSA จำนวนทั้งหมด 63 เชื้อมี staphylococcal cassette chromosome mec (SCCmec) V (41 เชื้อ) SCCmec IX (9 เชื้อ) SCCmec composite island ชนิดใหม่ (12 เชื้อ) และ SCCmec ที่จำแนกไม่ได้ (1 เชื้อ) โดย SCCmec IX พบใน MRSA-ST9-t337, MRSA-ST398-t034 และ MRSA=ST4576-t034 ซึ่งเป็น ST ใหม่ที่เปลี่ยน 1 ตำแหน่งนิวคลีโอไทด์ของ ST9 ส่วน SCCmec รูปแบบอื่นๆ พบใน MRSA-ST398-t034 เท่านั้น ยกเว้น 1 เชื้อที่ไม่พบยีน spa เชื้อ MRSA ทุกเชื้อที่พบแสดงการดื้อยาต้านจุลชีพหลายชนิดและมียีนดื้อยาต้านจุลชีพที่พบได้บ่อยในสายพันธุ์ที่แยกได้จากปศุสัตว์ ได้แก่ Isa€, Inu(B), cfr, fexA, vga(A) และ spw จากคุณลักษณะทางพันธุกรรมและรูปแบบลายพิมพ์นิ้วมือ DNA แสดงหลักฐานการส่งผ่านเชื้อระหว่างสุกรและมนุษย์และการแพร่กระจายในห่วงโซ่การผลิตสุกร การศึกษานี้เป็นรายงานแรกที่พบ MRSA ST398 ในฝูงสุกรและผู้เลี้ยง และยีนดื้อยา cfr ใน MRSA-ST9 ในประเทศไทย คุณลักษณะทางพันธุกรรมแยกย่อยและยีนดื้อยาที่แตกต่างกันแสดงถึงกลุ่มประชากรเชื้อ MRSA ที่หลากลายและวิวัฒนาการของเชื้อที่กระจายในเขตภาคกลางของประเทศ การตรวจติดตามและการจัดการฟาร์มร่วมกับการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลมีความจำเป็นในการลดการอุบัติและแพร่กระจาย เช่นเดียวกันการรักษาสุขศาสตร์และการป้องกันตนเองของบุคลากรเป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติเพื่อป้องกันการได้รับเชื้อจากปศุสัตว์en_US
dc.description.abstractalternativeThe study aimed to detect distribution and characterize genotype and antimicrobial susceptibility of methicillin-resistant Staphylococcus aureus colonizing pigs and swine workers in central Thailand. MRSA were recovered from 59 of 607 (9.72%) pig samples with 37.03% herd prevalence (10/27 farms) and from 3 of 38 (7.89%) swine workers. Of 63 isolates, MRSA carried staphylococcal cassette chromosome (SCCmec) V (n=41), SCCmec IX (n=9), a SCCmec composite island (n=12) and non-typeable SCCmec (n=1). SCCmec IX was associated with MRSA-ST9-t337, MRSA-ST398-t034 and MRSA-ST4576-t034, a new single locus variant of ST9. Other SCCmec were carried by MRSA-ST398-t034 only, except one negative spa amplification. The isolates exerted multidrug resistance and carried common resistance genes found in livestock-associated MRSA such as Isa€, Inu(B), cfr, fexA, vga(A) and spw. With molecular characteristics, resistance and PFGE patterns supported evidence of pig-to-human transmission and spreading in pig production chain. This is also the first findings of MRSA-ST398 distributing in swine herds and workers and presence of multidrug resistance cfr in MRSA-ST9 in Thailand. Minor variation of molecular features and resistance gene carriage in both STs represented heterogenous population and evolution of endemic clones. Monitoring program and farm management with prudent antimicrobial uses are needed to reduce the emergence and spreading. Together, strict hygiene and personal protection are necessary to prevent the acquired LA-MRSA.en_US
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัญญาเลขที่ MRG5980024en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารต้านจุลชีพen_US
dc.subjectสตาฟีย์โลค็อกคัสออเรียสen_US
dc.titleการกระจาย การจำแนกชนิดเชิงโมเลกุลและความไวรับต่อยาต้านจุลชีพของเชื้อ methicillin-resistant Staphylococcus aureus ในการผลิตสุกรและผู้เลี้ยงสุกรในเขตภาคกลางของประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativeInvestigation molecular characterization and antimicrobial susceptibility of methicilin-resistant staphylococcus aureus in pig production and people associated with pigs in Central Thailanden_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pattrarat_Ch_Res_2561.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)48.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.