Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83927
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pataporn Sukontamarn | - |
dc.contributor.author | Trieu Thi Phuong | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. College of Population Studies | - |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T02:25:08Z | - |
dc.date.available | 2024-02-05T02:25:08Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83927 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2023 | - |
dc.description.abstract | Providing a secured employment system is a sustainable strategy given the context of a rapid population aging in Vietnam when the country is still in the lower-middle income group and a large part of older persons are living in low socioeconomic conditions. This work aims to investigate the situation of older persons’ employment in Vietnam (employing the 2018 and 2020 Vietnam Housing and Living Standard Surveys) and the impact of COVID-19 on their employment and individual coping strategies to overcome employment difficulties (utilizing the 2021 Labour Force Survey). This study finds that older persons with retirement pension, facing health problems, and having a college degree were less likely to work after retirement age. At the household level, those living in households with fewer members and higher income are associated with higher probability of working. Meanwhile, higher level of education is associated with lower relative risk of working in agriculture for older persons. During COVID-19, older persons living in the rural area and working in agriculture are associated with lower relative risk of job loss or temporary absence. On the other hand, older persons with a university degree, using IT at work have higher relative risk of changing the working form to remote working during COVID-19. Those people are also have higher relative risk of having other solutions to cope with employment difficulties. The findings imply that improving health status and promoting pension coverage are the key factors to achieve active aging while enhancing educational level for all is a long term strategy to get employment security for the labour force, especially in case of unforeseen shocks. | - |
dc.description.abstractalternative | ภายใต้บริบทการสูงวัยของประชากรอย่างรวดเร็วในประเทศเวียดนาม โดยที่ประเทศเวียดนามยังคงอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางในระดับต่ำและผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังคงมีสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในระดับต่ำนั้น การจัดเตรียมระบบการจ้างงานที่มั่นคงนับเป็นกลยุทธ์ที่ยั่งยืน งานวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสถานการณ์การจ้างงานผู้สูงอายุในประเทศเวียดนาม (โดยใช้ Vietnam Housing and Living Standard Surveys ปีค.ศ. 2018 และ 2020) และผลกระทบของโควิด-19 ต่อการจ้างงานผู้สูงอายุและกลยุทธ์การรับมือผลกระทบในระดับบุคคลของผู้สูงอายุ (โดยใช้ Labor Force Survey ปีค.ศ. 2021) ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุที่มีบำนาญ ผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาสุขภาพ และผู้สูงอายุที่สำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา มีโอกาสที่จะทำงานหลังวัยเกษียณน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่มีบำนาญ กลุ่มที่ไม่มีปัญหาสุขภาพ และกลุ่มที่ไม่ได้รับการศึกษา ตามลำดับ สำหรับปัจจัยระดับครัวเรือน ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีสมาชิกน้อยกว่าและอาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้สูงกว่า มีความน่าจะเป็นที่จะทำงานสูงขึ้น ในขณะเดียวกัน ระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมีความสัมพันธ์กับความน่าจะเป็นที่จะทำงานในภาคเกษตรกรรมที่ลดลง ในช่วงโควิด-19 ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบทและทำงานในภาคเกษตรกรรมมีความเสี่ยงที่จะตกงานหรือเว้นจากการทำงานชั่วคราวน้อยกว่ากลุ่มที่อยู่ในพื้นที่เมืองและกลุ่มที่ทำงานนอกภาคเกษตรกรรม ตามลำดับ ในทางกลับกัน ผู้สูงอายุที่สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาและผู้สูงอายุที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในที่ทำงาน มีโอกาสสูงกว่าในการเปลี่ยนรูปแบบการทำงานเป็นการทำงานทางไกลในช่วงโควิด-19 และผู้สูงอายุกลุ่มนี้ยังมีโอกาสสูงกว่าที่จะมีแนวทางอื่นในการรับมือปัญหาที่เกี่ยวกับการจ้างงาน ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าการส่งเสริมสุขภาพและการสนับสนุนให้ระบบบำนาญมีความครอบคลุมมากขึ้น เป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมพฤฒพลังในผู้สูงอายุ ในขณะที่การส่งเสริมให้ประชากรทุกคนมีการศึกษาสูงขึ้นเป็นกลยุทธ์ระยะยาวในการสร้างความมั่นคงในการจ้างงานสำหรับกำลังแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่เกิดสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.title | Employment situation of older persons in Vietnam: Impact of COVID-19 and individual coping strategies | - |
dc.title.alternative | สถานการณ์การทำงานของผู้สูงอายุในประเทศเวียดนาม: ผลกระทบจากโควิด-19 และกลยุทธ์การรับมือในระดับบุคคล | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | - |
dc.degree.level | Doctoral Degree | - |
dc.degree.discipline | Demography | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.keyword | During COVID-19 | - |
dc.subject.keyword | Vietnam (employing the 2018 and 2020 Vietnam Housing and Living Standard Surveys) | - |
dc.subject.keyword | Employment situation | - |
Appears in Collections: | Pop - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6383001751.pdf | 2.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.