Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorนงค์นุช แจ้งสว่าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-21T02:14:07Z-
dc.date.available2008-11-21T02:14:07Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8468-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractได้ทำการหาปริมาณรังสีที่เหมาะสมในการย่อยสลายเพ็คตินให้มีขนาดโมเลกุลลดลงเพื่อใช้เป็นสารลดปริมาณ โปรตีนก่อภูมิแพ้ในน้ำยางข้นธรรมชาติเพ็คตินที่ใช้ในการทดลองสกัดจากฐานดอกทานตะวันด้วยสารสกัดคือ น้ำกลั่น สารละลายกรดไฮโดรคลอริก พีเอช 2 และสารละลายกรดไฮโดรคลอริก พีเอช 4 ที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที การสกัดด้วยน้ำกลั่นได้ผลผลิตต่อน้ำหลักสดมากที่สุดคือประมาณ 0.4% เมื่อฉาย รังสีสารละลายเพ็คติน 5% ที่ปริมาณรังสี 2,4.6,8 และ 10 กิโลเกรย์ จะได้เพ็คตินทีมีขนาดโมเลกุลเฉลี่ย โดย ความหนืดเป็น 6.57x10[superscript4], 4.20x10[superscript4], 3.30x10[Superscript4], 2.08x10[Superscript4] และ 1.36x10[Supscript4] ตามต้น (Da) ตามลำดับ เมื่อนำสารละลายเพ็คตินที่มีขนาดโมเลกุลเล็กค่าต่างๆ เหล่านี้เติม ลงน้ำยางข้นที่เจือจงด้วยน้ำเป็น 2 เท่าในปริมาณ 1,0.5, 2.0 และ 2.5 ส่วนในเนื้อยาง 100 ส่วน (phr) กวนและทิ้งไว้ ค้างคืนแล้วปั่นที่ 8,000 รอบต่อนาที ที่ 10 องศาเซลเซียส 1 ชั่วโมงจะได้น้ำยางข้น เมื่อขึ้นรูปเป็นฟิล์มยางและนำไป ทดสอบหาค่าโปรตีนก่อภูมิแพ้โดยวิธี ELISA ได้ผลว่าฟิล์มยางที่ได้จากการเติมเพ็คตินฉายรังสี 4 กิโลเกรย์ซึ่งมี น้ำหนักโมเลกุล 4.20x10[supscript4] Da ปริมาณ 1.2 phr ในน้ำยางข้นและปั่นสามารถลดปริมาณโปรตีนก่อภูมิแพ้ ได้มากที่สุดคือลดลงจากฟิล์มยางควบคุม 80.26% และเหลือเพียง 1.5 ppmen
dc.description.abstractalternativeDetermination of a suitable gamma radiation dose for depolymerization of pectin was conducted and used as an allergenic rubber latex protein scavenger. Pectin from sunflower head was extracted by water. HCI solution of pH 4 and HCI solution of pH 2 at 90 degree Celsius for 60 minutes. Highest pectin yield was from water extraction, the yield was 0.4% of wet sunflower head. 5.0% pectin solution was gamma irradiated at 2,4,6,8 and 10 KGy resulted in lowering of viscosity average molecular weight 6.57x10[superscript4], 4.20x10[superscript4], 3.30x10[Superscript4], 2.08x10[Superscript4]nd 1.36x10 [Superscript4] Da respectively as determined by viscosity measurement. Irradiated pectin solutions were added into twice diluted concentrated latex at concentration of 1.0, 1.5, 2.0 and 2.5 phr, stirred and left overnight prior to centrifuge at 8000 rpm for 60 minutes to obtain concentrated latex. Rubber films so obtained from the latex were analyzed for allergenic protein content by ELISA method. It was found that rubber from adding of 4 kGy irradiated pectin at concentration of 1.5 phr showed lowest allergenic protein of 1.5 ppm, 80.26% decreased from the control latex.en
dc.format.extent3168523 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.378-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการย่อยสลายทางชีวภาพen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.subjectดอกทานตะวันen
dc.subjectสารก่อภูมิแพ้en
dc.subjectยางธรรมชาติ -- องค์ประกอบโปรตีนen
dc.titleการย่อยสลายเพ็คตินจากฐานดอกทานตะวัน โดยใช้รังสีแกมมาเพื่อเป็นสารลดปริมาณโปรตีนก่อภูมิแพ้ในน้ำยางธรรมชาติen
dc.title.alternativeGamma radiation depolymerization of sun flower head pectin for decreasing of allergenic natural rubber latex protein contentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChyagrit.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.378-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nongnuch.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.