Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9292
Title: การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ในช่วงปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ.2539-2550) ตามความคาดหวังของผู้บริหารและครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6
Other Titles: A study of desirable characteristics of secondary school administrators during the educational reform (B.C. 1996-2007) as expected by administrators and teachers of secondary schools under the jurisdiction of the General Education Department, Educational Region six
Authors: สุนีย์ บุญทิม
Advisors: อมรชัย ตันติเมธ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Advisor's Email: Amornchai.T@chula.ac.th
Subjects: การปฏิรูปการศึกษา
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร
ผู้บริหารโรงเรียน
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ในช่วงปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2539-2550) ตามความคาดหวังของผู้บริหารและครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 103 คน ครู จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบมาตราส่วนประเมินค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ สถิติที่ใช้ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามความคาดหวังของผู้บริหารและครูในคุณลักษณะ 2 ด้าน คือ 1) คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ 2) คุณลักษณะด้านวิชาชีพ อยู่ในระดับมากที่สุด 2. เมื่อเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้บริหาร และครูที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในทุกด้าน ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า มีความคาดหวังไม่แตกต่างกัน
Other Abstract: To study the desirable characteristics of secondary school administrators during the educational reform (B.C. 1996-2007) as expected by administrators and teachers of secondary schools under the jurisdiction of the General Education Department, Educational Region six. Samples were 103 administrators and 361 teachers. Instrument used in this research were questionaires. Data were analyzed by the statistic package for social science and presented in items of frequency, persentage, mean, standard deviation and t-test. Research findings were as follows: 1. The desirable characteristic of secondary school administrators as expected by the administrators and teachers in two characteristics, personality characteristics and professional characteristics, were at the highest level 2. The comparision of the administrators' and the teachers' expectation to all desirable characteristics of the secondary school administrators was not significant differences.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: บริหารการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9292
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.494
ISBN: 9743343687
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1999.494
Type: Thesis
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunee_Bo_front.pdf749.04 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Bo_ch1.pdf759.53 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Bo_ch2.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_Bo_ch3.pdf723.3 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Bo_ch4.pdf870.45 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Bo_ch5.pdf920.91 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Bo_back.pdf905.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.