Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต-
dc.contributor.authorธารินี ธาดาดุสิตา, 2524--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-25T02:59:54Z-
dc.date.available2006-07-25T02:59:54Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745312665-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1064-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารผ่านคุตบะฮฺวันศุกร์ของชาวไทยมุสลิม ตลอดจนศึกษาถึงวิธีการแสวงหาข้อมูลของคอเต็บและอิหม่ามรวมถึงกลยุทธ์การบรรยายคุตบะฮฺวันศุกร์ของคอเต็บหรืออิหม่าม โดยทำการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้แก่ คอเต็บหรืออิหม่าม ประจำมัสยิด รวม 5 ท่าน และชาวไทยมุสลิมที่เข้าฟังคุตบะฮฺวันศุกร์ จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการสื่อสารในคุตบะฮฺวันศุกร์นั้นมีองค์ประกอบ 4 ประการคือ ผู้ส่งสาร ซึ่งได้แก่ คอเต็บหรืออิหม่าม ผู้ทำหน้าที่บรรยายคุตบะฮฺวันศุกร์สาร ได้แก่ เนื้อหาของคุตบะฮฺวันศุกร์ที่คอเต็บแต่ละ ท่านบรรยาย ช่องทางการสื่อสาร และผู้รับสาร ได้แก่ ชาวไทยมุสลิมที่เข้าฟังคุตบะฮฺวันศุกร์ 2. วิธีการแสวงหาข้อมูลของคอเต็บและอิหม่ามนั้น มาจาก 2 แหล่งด้วยกัน คือ 2.1 จากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานและหนังสือรวบรวมอัลหะดีษ (จริยวัตรของท่านนบีมุฮัมมัด) 2.2 จากสื่ออื่นๆ ได้แก่ สื่อวิทยุโทรทัศน์ หรืออินเตอร์เน็ตรวมทั้งสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ 3. กลยุทธ์การบรรยายคุตบะฮฺวันศุกร์ที่คอเต็บใช้ในการบรรยายได้แก่ การนำเสนอเรื่องราวที่ปัจจุบันทันด่วน นอกจากนั้นยังมีการยกตัวอย่างจากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานและหนังสือรวบรวมอัลหะดีษเพื่อให้มุสลิมเห็นภาพที่ชัดเจน รวมทั้งมีการใช้อวัจนะภาษา เช่น ท่าทางน้ำเสียงและคำพูดเป็นตัวช่วยen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the communication process in Friday Khutbah of muslims as well as the information seeking methods and the communication strategies of khateeb or imam. In depth interviews were conducted with five khateebs from five different musjids around Bangkok Metropolitan area and twenty muslims who attend the Friday Khutbah. The results of this study are as follows: 1. The communication process of Friday Khutbah has four important components; the sender, the khateeb or imam of each musjids; the message, the khateeb or imam communicates with receivers; the channel and the receivers who are muslims attending the Friday Khutbah. . Two information seeking methods are used by khateeb or imam as sources. The first source is from Al-Quran and the book of Al-Hadith. The second is from other media such as radio, television, internet and any other printed materials. 3. The strategies in presenting Friday Khutbah of khateeb or imam are to present the updated story inthe news and to givethe samples from Al-Quran and the book of Al-Hadith by using non-verbal language.en
dc.format.extent848798 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.20-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectละหมาด (ศาสนาอิสลาม)en
dc.subjectการโน้มน้าวใจen
dc.subjectการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมen
dc.subjectชาวไทยมุสลิมen
dc.subjectมุสลิม -- ไทยen
dc.subjectศาสนาอิสลามen
dc.titleกระบวนการสื่อสารผ่านคุตบะฮฺวันศุกร์ของชาวไทยมุสลิมen
dc.title.alternativeCommunication process in Friday Khutbah of muslimsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUbolwan.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.20-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tarinee.pdf852.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.