Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16791
Title: ความคาดหวังและความพึงพอใจของประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีต่อบทบาทและการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
Other Titles: Expectation and satisfaction among Bangkok residents on the role and communication of Food and Drug Administration
Authors: กุลพิธาล์ กองชาวนา
Advisors: กรรณิการ์ อัศวดรเดชา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ความพอใจ
ความคาดหวัง (จิตวิทยา)
การสื่อสารระหว่างบุคคล
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีต่อบทบาทและการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาในกลุ่มตัวอย่าง 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาวิจัยมีดังนี้ 1.พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของประชาชนในกรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์กับความคาดหวังต่อการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 2.พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของประชาชนในกรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 3.ความคาดหวังต่อการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมอาหารและยา 4.พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของประชาชนในกรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์กับความคาดหวังต่อบทบาทของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 5.พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมอาหารและยามีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อบทบาทของสำนักงานคณะกรรมอาหารและยา 6.ความคาดหวังต่อการสื่อสารของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีความสัมพันธ์ความพึงพอใจต่อบทบาทของสำนักงานคณะกรรมอาหารและยา 7.ความคาดหวังต่อบทบาทของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อบทบาทของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
Other Abstract: The research objectives were to study the expectation and satisfaction among Bangkok residents on the role and communication of Food and Drug Administration. The samples were 400 people in Bangkok. Questionnaires were use for data collection. Percentage, Mean, and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were used for the analysis of the data. The results of this research are as follow : 1.The communication behavior of people in Bangkok correlated with expectation of communication of Food and Drug Administration. 2. The communication behavior of people in Bangkok correlated with satisfaction of communication of Food and Drug Administration. 3. Expectation of communication of Food and Drug Administration correlated with satisfaction of communication of Food and Drug Administration. 4.The communication behavior of people in Bangkok correlated with expectation of role of Food and Drug Administration. 5. The communication behavior of people in Bangkok correlated with satisfaction of role of Food and Drug Administration. 6. Expectation of communication of Food and Drug Administration correlated with satisfaction of role of Food and Drug Administration. 7. Expectation of role of Food and Drug Administration correlated with satisfaction of role of Food and Drug Administration
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การประชาสัมพันธ์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16791
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.585
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.585
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kulpithar_ko.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.