Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17127
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ นลราชสุวัจน์ | - |
dc.contributor.author | รุจิรัตน์ กำมะหยี่ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพมหานคร | - |
dc.date.accessioned | 2012-02-28T14:36:25Z | - |
dc.date.available | 2012-02-28T14:36:25Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17127 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปรับตัวทางวัฒนธรรมของ นักศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์นิยมเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกนักศึกษาที่มาจากสามจังหวัดชายแดนภาคให้และเข้า มาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของกรุงเทพมหานครเป็นรายบุคคลจำนวน 12 ราย และนำบท สัมภาษณ์ที่ได้มาถอดเทปแบบคำต่อคำ จากนั้นจึงถอดรหัสข้อความและจัดข้อความออกเป็น หมวดหมู่ แล้วจึงสรุปเป็นประเด็นหลัก ผลการวิเคราะห์พบ 2 ประเด็นหลัก คือ 1.ความ พยายามที่จะคงวัฒนธรรมเดิมไว้ 2. การยอมรับวัฒนธรรมใหม่ ซึ่งผลการศึกษาวิจัยนี้ทำให้ เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับประสบการณ์การปรับตัวของนักศึกษาที่มาจากสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับนักจิตวิทยาการปรึกษาในการช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหา ด้านการปรับตัวในมหาวิทยาลัยต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | The primary aim of this study was to investigate the cultural adjustment of the students from the three southern provinces of Thailand. Qualitative method was used. Twelve students were selected. Data collected through in-depth interview using guideline questions, were coded from verbatim transcript and were categorized into themes. The result revealed two main themes: 1) The attempt to maintain former culture 2) The acceptance of new cultures. The research finding yielded better understanding in cultural adjustment of university students from the three southern- border provinces, which is beneficial for counseling psychologists in providing professional help for university students | en |
dc.format.extent | 1155714 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.840 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | วัฒนธรรม | en |
dc.subject | การปรับตัว (จิตวิทยา) | en |
dc.subject | การปรับตัวทางสังคม | en |
dc.title | การปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Cultural adjustment of university students from The Three Southern - Border Provinces in Bangkok | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการปรึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | kannikar.N@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.840 | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
rujirat_ka.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.