Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17850
Title: กลยุทธ์การบริหารการจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษา เทศบาลเมืองท่าโขลง จังหวัดปทุมธานี
Other Titles: Waste management and administration strategies case study : Thaklong Municipality Phathumtani
Authors: พลาพร สมพรบรรจง
Advisors: สุนทร บุญญาธิการ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
Advisor's Email: soontorn@asia.com, Soontorn.B@Chula.ac.th
Subjects: ขยะ -- การจัดการ
การกำจัดขยะ
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: กรณีศึกษาเรื่อง “กลยุทธ์การบริหารการจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษา เทศบาลเมืองท่าโขลง จังหวัดปทุมธานี” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเทศบาลเมือง ท่าโขลงในการน าก๊าซชีวภาพที่เกิดจากการจัดการขยะมูลฝอยมาผลิตเป็นพลังงานทดแทน และศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านความคุ้มค่าของการลงทุนทางการเงิน (Financial Investment) การศึกษาได้รวบรวมแนวคิด บทความ งานวิจัยต่างๆ จากการศึกษาปัจจัยภายในและภายนอกที่เอื้ออ านวยต่อการด าเนินการจัดการขยะมูลฝอยและจากการทดลองโดยการเก็บตัวอย่างขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองท่าโขลงมาศึกษาองค์ประกอบของขยะพบว่า ส่วนใหญ่เป็นขยะอินทรีย์ และเมื่อน าขยะทั้งหมดโดยไม่ได้คัดแยกมาหมักตามกระบวนการโดยใช้เวลาการหมัก 90 วัน ได้ก๊าซชีวภาพตั้งแต่วันที่ 2 ถึง วันที่ 90 ของการหมัก รวมปริมาณก๊าซที่ได้ 5,836 ลูกบาศก์เมตร คิดเป็นค่าเฉลี่ยได้ก๊าซชีวภาพ 48.63 ลูกบาศก์เมตร/ขยะ 1 ตัน มีปริมาณก๊าซมีเทนอยู่ในระดับ 50.89 % จึงน าก๊าซชีวภาพที่ได้มาทดสอบการใช้งานสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิง การติดเครื่องยนต์ และผลิตกระแสไฟฟ้า ส่วนน้ าและกากตะกอนสามารถน าไปเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ส าหรับใช้ในการเกษตร และขยะรีไซเคิลน าไปสร้างมูลค่าเพิ่มได้ และท าการศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านความคุ้มค่าทางการเงิน โดยการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ ณ อัตราคิดลดร้อยละ 6 , 8 , 10 และ 12 กรณีต้นทุนคงที่และผลประโยชน์คงที่ และกรณีต้นทุนคงที่และผลประโยชน์เพิ่มค่าจ้างเหมาก าจัดขยะ 5 % ทุก 5 ปี ระยะเวลาของการด าเนินงาน 30 ปี ซึ่งพิจารณาจากค่าตัวชี้วัดพบว่า ระยะเวลาในการคืนทุน (PB) ที่ค านวณได้ 3.59 ปี (3 ปี 7 เดือน 3 วัน) น้อยกว่าระยะเวลาในการด าเนินงาน มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) ที่ค านวณได้มากกว่า 0 และอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน ( BCR) ที่ค านวณได้มีค่ามากกว่า 1 จะเห็นได้ว่า การลงทุนในการด าเนินการคุ้มค่าต่อการลงทุน ผลสรุปการบริหารการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองท่าโขลง โดยวิธีการหมักขยะแบบ ไร้ออกซิเจน ซึ่งไม่ได้ผ่านกระบวนการคัดแยกขยะ ท าให้ได้ก๊าซชีวภาพมาแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ และการศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านความคุ้มค่าต่อการลงทุนทางการเงินโดยวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ ณ อัตราคิดลดร้อยละ 6 , 8 , 10 และ 12 กรณีต้นทุนคงที่และผลประโยชน์คงที่ และกรณีต้นทุนคงที่และผลประโยชน์เพิ่มค่าจ้างเหมาก าจัดขยะ 5 % ทุก 5 ปี พบว่าการลงทุนในการด าเนินการคุ้มค่าต่อการลงทุน และสามารถน าเทคโนโลยีนี้ไปออกแบบทางสถาปัตยกรรม เพื่อประยุกต์ใช้กับครัวเรือนหรือชุมชนได้ใช้ง่ายและสะดวก เป็นการประหยัดงบประมาณในการใช้พลังงานทดแทน และรักษาสิ่งแวดล้อมอีกทางหนึ่ง
Other Abstract: The purposes of this study were to find an effective and suitable technology for using biogas obtained from the waste collected in Thaklong municipality as an alternative energy source and to study the feasibility of financial investment. Concepts, articles and studies were reviewed and samples of waste in the municipality were collected, most of which were organic waste. The samples which were unsorted were composted for 90 days. After that, biogas with 50.89 % methane was obtained and tested as fuel for starting an engine and generating electricity. The by-product fluid and residue were able to be used as an organic fertilizer for farming and recycled waste could be value added. External and internal factors which facilitated the waste management were examined and the feasibility for financial investment was analyzed based on the costs and the benefits at the regression rate of 6%, 8%, 10% and 12% when the costs and the benefits were fixed; and when the costs were fixed but the benefits increased with an increase in waste disposal charge by 5% every 5 years during 30 years of operation. It was found, according to the indicators, the duration of study (PB) was less than the duration of operation. The net present value (NPV) was more than 0 and the benefit cost ratio was more than 1. It can be concluded that the composting of unsorted waste is a productive way to manage waste. However, if the waste is sorted before being composted, the biogas can be used as an energy source that more value can be added to. As a result, an effective way to manage waste is a combination of both. This will be worth financial investment and this technology can also be applied in the field of architectural design for households and communities so that it can be used more readily and more conveniently. The expense for energy consumption can be reduced because of this alternative energy which also helps protect the environment
Description: วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: สถาปัตยกรรม
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17850
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.49
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.49
Type: Thesis
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
palaporn_so.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.