Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23095
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ขจรยศ อยู่ดี | |
dc.contributor.advisor | สมพงศ์ ฉัตราภรณ์ | |
dc.contributor.author | เกรียงไกร วันทอง | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-03T09:41:35Z | |
dc.date.available | 2012-11-03T09:41:35Z | |
dc.date.issued | 2544 | |
dc.identifier.isbn | 9741702701 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23095 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | การปลูกผลึกสารกึ่งตัวนำ Cu₂In₄Se₇ จากสภาวะหลอมเหลวโดยวิธีทำให้เย็นตัวโดยตรงตามวิธีของบริดจ์แมน-สโตคบาร์เกอร์ตามแนวนอน เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบตามแนวยาวของผลึกสารตัวอย่างโดยใช้วิธีอีดีเอส พบว่าการปลูกผลึกแบบนี้มีเกรเดียนท์ของสัดส่วนของธาตุองค์ประกอบ ตรงกันข้ามกับผลึกของสารประกอบ CuInSe₂ ซึ่งจะไม่มีเกรเดียนท์ของสัดส่วนของธาตุองค์ประกอบ จากการทดลองการดูดกลืนแสง พบว่าค่าพลังงานที่ชอบการดูดกลืนแสงของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ น้อยกว่าค่าช่องว่างแถบพลังงานของสารประกอบ CuInSe₂ และลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าพลังงานที่ขอบการดูดกลืนแสงตามอุณหภูมิไม่สอดคล้องกับลักษณะของช่องว่างแถบพลังงานแสดงให้เห็นว่าค่าพลังงานที่ขอบการดูดกลืนแสงนี้ไม่ใช่ช่องว่างแถบพลังงานของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ แต่เป็นเพียงค่าเฉลี่ยของสถานะบางอย่างหรือความปรวนแปรในช่องว่างแถบพลังงานของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ จากการศึกษาสมบัติทางไฟฟ้าของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ โดยใช้การทดลองปรากฏการณ์ฮอลล์ พบว่าไม่สามารถสรุปชนิดของสารกึ่งตัวนำที่ชัดเจนได้ จากผลการทดลองการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ พบว่าชิ้นสารตัวอย่างที่มีสัดส่วนธาตุองค์ประกอบที่แตกต่างกันกลุ่มหนึ่งมีรูปแบบการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์เหมือนกัน แสดงให้เห็นว่าสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงสัดส่วนธาตุองค์ประกอบของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ ได้กว้างโดยที่โครงสร้างของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ ไม่เปลี่ยนแปลง และเมื่อทำการวิเคราะห์โครงสร้างที่เหมาะสมของสารประกอบ Cu₂In₄Se₇ โดยการปรับแต่งพารามิเตอร์แบบเรียทเวล์โดยใช้โครงสร้างแบบสองเฟส พบว่าผลที่ได้ไม่ได้น่าเชื่อถือมากกว่าโครงสร้างแบบเฟสเดียว ส่วนโครงสร้างแบบเฟสเดียวที่น่าเชื่อถือยังคงเป็นพีชาลโคไพไรท์ | |
dc.description.abstractalternative | The crystalline bulk of the Cu₂In₄Se₇ was grown from melting compound using the horizontal Bridgeman-Stokbargee directional freezing method. From the EDS analysis of composition along the crystal ingot, the composition gradient caused by this growth method is found in contrast this growth method has no effect on the composition of CuInSe₂. The absorption edge energies of Cu₂In₄Se₇, obtained from optical-absorption results, are less than that of CuInSe₂ and the characteristics of the absorption edge energy variation of Cu₂In₄Se₇ due to temperature variation do not correspond to the characteristic of the energy gap variation. Hence, these absorption edge energies are not the energy gap of Cu₂In₄Se₇, but only the average values of some states or fluctuation in the band gap. Hall experimental results do not clearly reveal the semiconductor type of Cu₂In₄Se₇. From x-ray diffraction experiment, a number of samples, whose compositions are different, have the same x-ray diffraction patterns. That means the compositions of Cu₂In₄Se₇ can be varied widely while its structure remains unchanged. From Rietveld refinement, the refinement result of a two-phase structure is not more reliable than the results of a single-phase structure. The reliable structure remains P-chalcopyrite. | |
dc.format.extent | 5232698 bytes | |
dc.format.extent | 2404236 bytes | |
dc.format.extent | 10165760 bytes | |
dc.format.extent | 16375695 bytes | |
dc.format.extent | 13742285 bytes | |
dc.format.extent | 1788061 bytes | |
dc.format.extent | 10542960 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | โครงสร้างผลึกและค่าช่องว่างแถบพลังงานของสารประกอบกึ่งตัวนำ Cu2In4Se7 | en |
dc.title.alternative | Crystal structure and energy gap value of the Cu2In4Se7 semiconductor compound | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ฟิสิกส์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kriangkrai_wa_front.pdf | 5.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kriangkrai_wa_ch1.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kriangkrai_wa_ch2.pdf | 9.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kriangkrai_wa_ch3.pdf | 15.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kriangkrai_wa_ch4.pdf | 13.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kriangkrai_wa_ch5.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kriangkrai_wa_back.pdf | 10.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.