Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25290
Title: Synthesis and binding properties of cation-templated anion receptors
Other Titles: การสังเคราะห์และสมบัติการจับของตัวรับแอนไอออนที่มีแคตไอออนเป็นเทมเพลต
Authors: Supachai Rittikulsittichai
Advisors: Thawatchai Tuntulani
Orawon Chailapakul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Acyclic crown ether derivatives containing urea/thiourea moieties, 5a, 5b and 5c, were synthesized. Complexation studies of ligand 5a with various ions were carried out by ¹H-NMR titrations. Ligand 5a were able to form 1:1 complexes with various ions in the order of H₂PO₄⁻ > AcO- > NO₃⁻ ~ BzO⁻ > C1⁻ > Br⁻ > Na⁺> I-> K⁺. Complexation studies of ligand 5b with alkali metal ions by UV-visible spectrophotometry could not give stability constants. Nevertheless, anion binding abilities of ligand 5b were calculated and varied as follows: NO₃⁻ > Br⁻~ C1⁻ as 1:1 complexes, and BzO⁻ > H₂PO₄⁻ > I⁻ as 1:2 complexes. In allosteric studies of alkali metal ions or various anions for both ligands, the anion or alkali metal ion binding abilities depended on structures of complexes between ligands and alkali metal ions and anions as well as the ion-pair formation between alkali metal ions and anions. The electrochemical studies of ligand Sb by cyclic and square wave voltammetry confirm the occurring of ion-pair formations.
Other Abstract: ได้ทำการสังเคราะห์พอลิเอธิลินไกลคอลที่มียูเรียนหรือไทโอยูเรียเป็นองค์ประกอบ 5a 5b และ 5c จากนั้นทำการศึกษาสมบัติการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของลิแกนด์ 5a กับไอออนชนิดต่างๆ โดยการไทรเทรตด้วยเทคนิคโปรตอนนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ (เอ็นเอ็มอาร์) พบว่าลิแกนด์ 5a เกิดสารประกอบเชิงซ้อนในอัตราส่วน 1:1 กับไอออนต่างๆ โดยมีความสามารถในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับไอออนเป็นดังนี้ ไดไฮโดรเจน ฟอสเฟต > อะซีเตต > ไนเตรท ~ เบนโซเอท > คลอไรด์ > โบรไมด์ > โซเดียม > ไอโอไดด์ > โพแทสเซียม การศึกษาสมบัติการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของลิแกนด์ 5b โดยการไทเทรตด้วยเทคนิคยูวีวิสสิเบิลสเปกโตรโฟโตเมทรี พบว่าไม่สามารถหาค่าคงที่ของการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของลิแกนด์ 5b กับไอออนของโลหะแอลคาไลได้ อย่างไรก็ตามความสามารถในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับแอนไอออนในอัตราส่วน 1:1 เป็นดังนี้ ไนเตรท >โบรไมด์ ~ คลอไรด์ และในอัตราส่วน 1:2 เป็นดังนี้ เบนโซเอท > ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต > ไอโอไดด์ ในการศึกษาผลของอะลอสเตอริคของไอออนของโลหะแอลคาไล และแอนไอออนที่มีผลต่อความสามารถในการจับแอนไอออนและโลหะแอลคาไลของลิแกนด์ทั้งสองชนิดพบว่าความสามารถในการจับกับไอออนของลิแกนด์ขึ้นอยู่กับการจัดโครงสร้างของสารประกอบเชิงซ้อนของลิแกนด์กับไอออนของโลหะแอลคาไลและแอนไอออน รวมถึงความสามารถในการเกิดไอออนแพร์ระหว่างไอออนของโลหะแอลคาไลและแอนไอออน การศึกษาสมบัติทางเคมีไฟฟ้าของลิแกนด์ 5b โดยใช้เทคนิคไซคลิกโวลแทมเมทรี และ สแควร์เวฟโวลแทมเมทรี สามารถยืนยันได้ถึงผลของการเกิดไอออนแพร์
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25290
ISBN: 9741743742
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supachai_ri_front.pdf4.53 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_ri_ch1.pdf5.04 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_ri_ch2.pdf5.52 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_ri_ch3.pdf20.65 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_ri_ch4.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_ri_back.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.