Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25619
Title: Separation of crude palm oil dispersion in water by coalescence media
Other Titles: การแยกน้ำมันปาล์มดิบที่กระจายตัวอยู่ในน้ำโดยอาศัยตัวกลางช่วยทำให้เกิดการรวมตัวกัน
Authors: Threetarn Amaralikit
Advisors: Jirdsak Tscheikuna
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2004
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The separation of crude palm oil dispersions from water using coalescing media was investigated. The experiments were conducted in a batch system. An oil-in-water emulsion consisting of 1 wt % palm oil dispersed in water was allowed to flow through a glass tube packed with coalescing medium. The tube is 100 mm in length with an inner diameter of 10 mm. Natural palm fiber, synthetic fiber and pumice stone were used as coalesing media. The temperatures were 60°c, 70°c and 80°c and the flow velocities were 0.12, 0.25, 0.40 and 0.50 mm/sec. The results showed that palm fiber, synthetic fiber and pumice stone can be used as coalescing media for demulsification of palm oil. The rates of demulsification of every medium were higher than that of gravity demulsification. Palm fiber showed a significantly high rate while synthetic fiber and pumice stone showed only a slight improvement. Increasing flow velocity of emulsion through the bed resulted in an increase in the rate of demulsification for palm fiber but it had a slight effect on synthetic fiber and pumice stone. High operating temperature tended to reduce the rate of demulsification.
Other Abstract: การวิจัยนี้ เป็นการศึกษาการแยกน้ำมันปาล์มที่กระจายตัวอยู่ออกจากน้ำโดย อาศัยตัวกลางที่ช่วยให้เกิดการรวมตัวของหยดน้ำมัน โดยการทดลองจะจัดให้มีลักษณะเป็นชุด ไม่ต่อเนื่องกัน อิมัลชันที่ใช้จะมีการกระจายตัวของหยดน้ำมันอยู่ร้อยละ 1 เมื่อเทียบกับน้ำ ไหลผ่านตัวกลางที่บรรจุอยู่ในท่อแก้วทรงกลม ขนาดความยาว 100 มิลลิเมตรเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 10 มิลลิเมตร โดยใช้เส้นใยปาล์มธรรมชาติ เส้นใยสังเคราะห์ และตัวกลางที่มีลักษณะเป็นเม็ดหิน เป็นตัวกลางที่ช่วยในการทำ ให้เกิดการแยก การศึกษาจะทำที่อุณหภูมิ 60, 70, และ 80 องศาเซลเซียส และ ความเร็วในการไหลของอิมัลชันเท่ากับ 0.12, 0.25, 0.40, และ 0.50 มิลลิเมตรต่อวินาที ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า เส้นใยปาล์ม เส้นใยสังเคราะห์ และ ตัวกลางที่มีลักษณะเป็นเม็ดหิน สามารถนำมาใช้เป็นตัวกลางที่ช่วยทำให้เกิดการรวมตัวกัน เพื่อทำลายความเป็นอิมัลชันของน้ำมันปาล์มที่กระจายตัวอยู่ในน้ำได้ อัตราการทำลายความเป็นอิมัลชันของตัวกลางทั้งสามชนิด จะมีค่าสูงกว่าอัตราการทำลายความเป็นอิมัลชันที่เกิดจากการแยกตัวโดยแรงโน้มถ่วงตามธรรมชาติ โดยตัวกลางชนิดเส้นใยปาล์มจะมีค่าสูงกว่ามาก ในขณะที่ตัวกลางประเภทเส้นใยสังเคราะห์ และตัวกลางที่มีลักษณะเป็นเม็ดหินจะมีค่าสูงกว่าเพียงเล็กน้อย เมื่อความเร็วในการไหลของอิมัลชันผ่านตัวกลางมีค่าเพิ่มขึ้น จะส่งผลให้อัตราการทำลาย ความเป็นอิมัลชันโดยใช้ตัวกลางประเภทเส้นใยปาล์มดีขึ้นมาก แต่จะมีผลเพียง เล็กน้อยกับการใช้ตัวกลางประเภทเส้นใยสังเคราะห์ และตัวกลางประเภทที่มีลักษณะ เป็นเม็ดหิน และที่อุณหภูมิสูง จะมีแนวโน้มที่อัตราการทำลายความเป็นอิมัลชันจะมีค่าลดลง
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2004
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25619
ISBN: 9741761481
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Threetarn_am_front.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open
Threetarn_am_ch1.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Threetarn_am_ch2.pdf5.14 MBAdobe PDFView/Open
Threetarn_am_ch3.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Threetarn_am_ch4.pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open
Threetarn_am_ch5.pdf436.47 kBAdobe PDFView/Open
Threetarn_am_back.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.