Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSridara Vijino-
dc.contributor.advisorUthai Suvanakoot-
dc.contributor.authorSrisutha Peemanee-
dc.date.accessioned2012-11-30T08:59:51Z-
dc.date.available2012-11-30T08:59:51Z-
dc.date.issued1990-
dc.identifier.isbn9745787248-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27257-
dc.descriptionThesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn University, 1990en
dc.description.abstractFour brands of ciprofloxacin film-coated tablets were evaluated. In vitro studies indicated that all brands met the requirements of the British Pharmacopoeia 1988 and the United States Pharmacopoeia XXII for disintegration times and dissolution test, respectively. However, brand D disintegrated significantly slower than the innovator’s product did meanwhile dissolution rates of all brands were about the same. The comparative bioavailability of ciprofloxacin tablets were determined using crossover study in 12 healthy male volunteers. After receiving a single oral dose of 250 mg ciprofloxacin tablet, blood samples were collected at predetermined time intervals and they were analyzed employing the HPLC. Data analysis by CSTRIP computer program demonstrated that there were no statistically significant differences for the relevant pharmacokinetic parameters (Cmax, tmax and AUC) among the four brands (P > 0.05). This referred that all brands were bioequivalent in terms of both the rate and the extent of drug absorption. The relative bioavailability of brands B, C, and D with respect to the innovator’s product (brand A) were 95.92, 105.82 and 108.07%, respectively. No statistical correlation between the in vitro and the in vivo data were observed. The pharmacokinetic of ciprofloxacin following oral administration of 250 mg tablet was well described by mean of a two-compartment open model with first order absorption and elimination and no lag time. The absorption rate constants ranged from 2.20-3.04 hr. The peak plasma concentrations were from 1.86-2.13 mcg/ml established within 0.96-1.20 hr, and the biological half life was about 3.55-3.81 hr.-
dc.description.abstractalternativeประเมินผลยาเม็ดเคลือบฟิล์มไซโปรฟลอกซาซินขนาด 250 มิลลิกรัม จำนวน 4 ชื่อทางการค้าการศึกษาในหลอดทดลองพบว่า ยาเม็ดทุดชื่อการค้ามีคุณสมบัติได้มาตรฐานตามข้อกำหนดใน British Pharmacopoeia 1988 และ United State Pharmacopoeia XXII ว่าด้วยเวลาที่ใช้ในการแตกกระจายตัวของยาเม็ดและการละลายของยา ตามลำดับ อย่างไรก็ตามยาเม็ดชื่อทางการค้า แตกตัวได้ช้ากว่ายาเม็ดที่เป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่อัตราการละลายของยาจากยาเม็ดทุกชื่อทางการค้ามีค่าใกล้เคียงกัน การเอื้อประโยชน์ของยาเม็ดไซโปรฟลอกซาซินในร่างกาย กระทำตามแบบแผนการทดลองข้ามใช้อาสาสมัครชายสุขภาพจำนวน 12 คน ภายหลังจากอาสาสมัครรับประทานยาเม็ดไซโปรฟลอกซาซิน ขนาด 250 มิลลิกรัม จำนวน 1 เม็ดครั้งเดียว ทำการเก็บตัวอย่างเลือดจากอาสาสมัคร ณ เวลาต่างๆที่เหมาะสมแล้วนำมาวิเคราะห์หาระดับยาโดยวิธี HPLC นำมาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาพารามิเตอร์ทางเภสัชจลนศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง (ความเข้มข้นของยาในพลาสมาสูงสุด, เวลาที่ความเข้มข้นของยาในพลาสมาสูงสุด, และพื้นที่ใต้เส้นโค้งของกราฟระหว่างความเข้มข้นของยาในพลาสมา-เวลา) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ CSTRIP จากการแปลผลข้อมูลพบว่า ค่าพารามิเตอร์ภายในร่างกายของยาเม็ดทั้ง 4 ชื่อทางการค้าเหล่านี้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ซึ่งแสดงว่ายาเม็ดเคลือบฟิล์มไซโปรฟลอกซาซินขนาด 250 มิลลิกรัม ทุกชื่อการค้าให้ความสมมูลในร่างกายได้เท่าเทียมกัน การเอื้อประโยชน์สัมพัทธ์ของยาเม็ดชื่อทางการค้า B, C, และ D เมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ยาต้นแบบ (ชื่อทางการค้า A) มีค่าเท่ากับ 95.92, 105.82 และ 108.07% ตามลำดับ การทดสอบค่าพารามิเตอร์ที่ได้จากการศึกษาในหลอดทดลอง และในร่างกายทางสถิติไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ เภสัชจลนศาสตร์ของยาเม็ดเคลือบฟิล์มไซโปรฟลอกซาซิน สามารถอธิบายได้ดีด้วยแบบจำลองชนิดเปิดสองห้องที่มีการดูดซึมและการขจัดยาแบบจลนศาสตร์อันดับหนึ่ง และไม่มีเวลาหน่วงของการดูดซึมยา (lag time) อัตราเร็วคงที่ของการดูดซึมมีค่าอยู่ระหว่าง 2.2-3.04 ต่อชั่วโมง ความเข้มข้นของยาสูงสุดในพลาสมามีค่า 1.86-2.13 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรภายในเวลา 0.96-1.20 ชั่วโมง และยามีค่าครึ่งชีวิตประมาณ 3.55-3.81 ชั่วโมง-
dc.format.extent3694171 bytes-
dc.format.extent812241 bytes-
dc.format.extent3147266 bytes-
dc.format.extent3199532 bytes-
dc.format.extent9225715 bytes-
dc.format.extent1013746 bytes-
dc.format.extent3973843 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.titleComparative bioavailability of ciprofloxacin tabletsen
dc.title.alternativeการเขียนเปรียบเทียบการเอื้อประโยชน์ในร่างกายของยาเม็ดไซโปรฟลอกซาซินen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Science in Pharmacyes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplinePharmacyes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srisutha_pe_front.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Srisutha_pe_ch1.pdf793.2 kBAdobe PDFView/Open
Srisutha_pe_ch2.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open
Srisutha_pe_ch3.pdf3.12 MBAdobe PDFView/Open
Srisutha_pe_ch4.pdf9.01 MBAdobe PDFView/Open
Srisutha_pe_ch5.pdf989.99 kBAdobe PDFView/Open
Srisutha_pe_back.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.