Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3641
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเลอสรวง เมฆสุต-
dc.contributor.authorสินีนาฏ รอดจีน, 2523--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-07-13T08:36:42Z-
dc.date.available2007-07-13T08:36:42Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745313351-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3641-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractไพโรไลซิสของชีวมวลเป็นกระบวนการแปรรูปทางความร้อนที่มีประสิทธิภาพกระบวนการหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สเชื้อเพลิง ผลิตภัณฑ์ของเหลวและชาร์ ในงานวิจัยนี้ศึกษาการไพโรไลซิสของชีวมวลภายในเครื่อปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อไรเซอร์ 2.5 เซนติเมตร สูง 165 เซนติเมตร ชีวมวลที่นำมาศึกษาคือซังข้าวโพด โดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์แก๊ส โดยออกแบบการทดลองเป็นแบบแฟกทอเรียล 2 ระดับที่ส่งผลต่อองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์แก๊ส โดยตัวแปรที่ทำการศึกษาคือ อุณหภูมิช่วง 650-850 องศาเซลเซียส ร้อยละของซังข้าวโพดในเชื้อเพลิงผสมช่วง 0-100 ร้อยละของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ช่วง 1-5 และร้อยละของนิกเกิลในตัวเร่งปฏิกิริยาช่วง 5-9 ผลการทดลองที่ได้จากการออกแบบการทดลอง พบว่าเมื่ออุณหภูมิ ร้อยละของซังข้าวโพดในเชื้อเพลิงผสม ร้อยละของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ และร้อยละของนิกเกิลในตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นร้อยละความเข้มข้นของแก๊สไฮโดรเจนและแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์มีค่าเพิ่มขึ้น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ส่วนแก๊สมีเทนมีค่าลดลงอย่างมาก โดยภาวะที่เหมาะสมในการทดลองคือ อุณหภูมิ 850 องศาเซลเซียส ร้อยละของซังข้าวโพดในเชื้อเพลิงผสมเท่ากับ 100 ร้อยละของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้เท่ากับ 5 และร้อยละของนิกเกิลในตัวเร่งปฏิกิริยาเท่ากับ 9 โดยได้ร้อยละความเข้มข้นของแก๊สไฮโดรเจนและคาร์บอนมอนนอกไซด์เท่ากับ 52.0 และ 18.0 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeBiomass pyrolysis is a more efficient way of thermal conversing biomass into fuel gas, liquid product and char. In this research, pyrolysis experiments were carried out in a circulating fluidized bed reactor with a riser diameter of 2.5 cm and height 165 cm. The biomass used was corn cob. The experiments were designed using two level factorial designs with temperature ranged of 650-850 degree Celsius, corn cob content of feed from 0 to 100 %, catalyst content of feed from 1 to 5 % and Ni load on catalyst from 5 to 9 %. The results showed that when temperature, corn cob content of feed, catalyst content of feed and Ni load on catalyst increased, the percent of hydrogen and carbon monoxide also increased. Carbon dioxide increased slightly. The percent of methane was considerably decreased. The optimum conditions were 850 degree Celsius, corn cob content of feed 100 %, catalyst content of feed 5 % and Ni load on catalyst 9 %. At this condition percentage of hydrogen and carbon monoxide were 52.0 and 18.0 respectivelyen
dc.format.extent2919669 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแยกสลายด้วยความร้อนen
dc.subjectฟลูอิไดเซชันen
dc.titleไพโรไลซิสของชีวมวลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนen
dc.title.alternativeCatalytic pyrolysis of biomass in a circulating fluidized beden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorlursuang.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sineenat.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.