Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42366
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นระเกณฑ์ พุ่มชูศรี | - |
dc.contributor.author | ไวกูณฐ์ โอมพรนุวัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-06-23T02:22:32Z | - |
dc.date.available | 2015-06-23T02:22:32Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42366 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอแบบจำลองในการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการปรับปรุงกระบวนการขนส่งชิ้นส่วนในสายการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จากคลังจัดเก็บชิ้นส่วนถึงส่วนการผลิตในโรงงานกรณีศึกษาซึ่งประสบปัญหาในปัจจุบัน ที่พบว่าการขนส่งชิ้นส่วนระหว่างการผลิตมีความล่าช้าและผิดพลาดในการขนส่ง ก่อให้เกิดระยะเวลาสูญเสียขึ้น โดยงานวิจัยนี้พิจารณาแนวทางการปรับปรุงกระบวนการขนส่งชิ้นส่วน 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การขนส่งชิ้นส่วนด้วยพนักงานอย่างเป็นระบบ 2) การขนส่งชิ้นส่วนด้วยพาหนะขนส่งชิ้นส่วนอัตโนมัติ และ 3) การขนส่งชิ้นส่วนด้วยพาหนะขนส่งร่วมกับระบบชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ โดยนำเสนอแบบจำลองเพื่อหาจำนวนทรัพยากรน้อยที่สุดที่ยังสามารถทำให้การขนส่งชิ้นส่วนให้มีประสิทธิภาพสำหรับแต่ละแนวทางด้วยข้อมูลนำเข้าจากโรงงานได้แก่ 1) ระยะเวลาการเรียกขอชิ้นส่วนในแต่ละจุดการผลิต และ 2) ระยะเวลาการทำงานจัดส่งชิ้นส่วนรอการผลิตจากคลังจัดเก็บเข้าสู่ส่วนการผลิตชิ้นส่วนในแต่ละแนวทางการทำงาน จากนั้นทำการคำนวณหาต้นทุนเฉลี่ยรายปี เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มค่าในการปรับปรุงการขนส่ง จากผลของงานวิจัยพบว่า การขนส่งชิ้นส่วนจากส่วนจากคลังจัดเก็บชิ้นส่วนถึงส่วนการผลิตโดยพาหนะขนส่งชิ้นส่วนอัตโนมัติร่วมกับระบบชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ เป็นแนวทางที่คุ้มค่าที่สุดเมือเทียบกับวิธีอื่น โดยใช้จำนวนพาหนะขนส่งชิ้นส่วนอัตโนมัติทั้งหมด 3 คัน และมีค่าเฉลี่ยต้นทุนรายปีรวมทั้งหมดที่ 578,877.18 บาทต่อปี ซึ่งทางเลือกนี้เมื่อเทียบกับวิธีการทำงานปัจจุบันจะสามารถลดระยะเวลาสูญเสียได้ 8,684 นาทีต่อปี | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to propose a cost benefit analysis model for work in process transferring improvement from a store to a production department in a case-study automotive parts factory, currently having significant transferring delays and errors.. This research considers three alternative methods to improve the current process, which are 1) personnel carriers system, 2) automatic guide vehicle and 3) automatic guide vehicle with radio-frequency identification. We present simulation models to determine the minimum number of resources that can achieve efficient work in process transferring for each option. Two inputs which are the cycle time for recalling parts from each production point and the transferring time are collected from the current process. Then we compute the annual cost for each improvement option to choose the most valuable one. We found that transferring by automatic guide vehicles with radio-frequency identification is the most valuable option, compared to others alternative. The number of automatic guided vehicles required for efficient transferring is 3 units with the annual cost of 578,877.18 Baht per year. Compared with the current process, this option can save 8,684 minutes waiting time per year to the case-study factory. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.989 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์ | en_US |
dc.subject | ยานยนต์ | en_US |
dc.subject | การขนส่ง | en_US |
dc.subject | รถยนต์ -- ชิ้นส่วน -- การขนส่ง | en_US |
dc.subject | Motor vechicle industry | en_US |
dc.subject | Transportation | en_US |
dc.subject | Motor vehicles | en_US |
dc.subject | Automobiles -- Parts -- Transportation | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการปรับปรุงกระบวนการขนส่งชิ้นส่วนรอการผลิตในสายการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ | en_US |
dc.title.alternative | Cost benefit analysis for work in process transferring improvement in an automotive part factory | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | naragain.p@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.989 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
waigoon _Oh.pdf | 10.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.