Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44886
Title: Development of polycarbonate/acrylonitrile styrene acrylate blends for outdoor applications
Other Titles: การพัฒนาสารผสมของพอลิคาร์บอเนต/อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน อะคริเลตสำหรับการประยุกต์ใช้งานภายนอก
Authors: Sirisak Laopetcharat
Advisors: Sarawut Rimdusit
Ruksapong Kunanuruksapong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Sarawut.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Polycarbonates
Acrylonitrile
Styrene
โพลิคาร์บอเนต
อะคริโลไนทริล
สไตรีน
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In this research,It aims to develop polycarbonate (PC) and acrylonitrile-styrene-acrylate (ASA) blends for high impact resistant products for outdoor applications. PC/ASA were blended at various grades of ASA (3 grades at impact strength and melt flow index different, i.e. ASA-997, ASA-978 and ASA-777)and compositions (i.e. containing 50- 90 wt% of PC) to investigate the effect of ASA grades and blend compositions on phycical, mechanical and thermal properties. The storage modulus at room temperature of all PC/ASA blends from dynamic mechanical analysis steadily increased with an increasing of PC contents. Moreover, PC/ASA-997 showed the highest modulus from the other PC/ASA blends system, i.e. PC/ASA-978 and PC/ASA-777. Glass transition temperatures (Tg) of all PC/ASA blends revealed that Tg of both PC-rich phase and ASA-rich phase slightly shifted towards each other with increasing amount of the PC. It showed that, PC/ASA blend can be classified as a partially miscible. Furthermore, notched Izod impact strength from impact tester of all PC/ASA blends clearly increased with an increasing PC contents in these polymer blends that PC/ASA-997 blend was also shown the highest impact strength. Whereas, PC/ASA-777 showed the highest melt flow index. The melt flow index of all PC/ASA blends distinctly incresed with an increasing amout of ASA in the blend. In particular, ASA was found to significantly improve the color and the impact strength retention of pure PC. From result of QUV exposure, a time period up to 3 week in QUV, the impact strength retention after weathering test increased with an increasing ASA content from 77% to 91% for 10 wt% to 50 wt% of ASA content, respectively. These evidences indicated that ASA can improve weatherability of these blends.
Other Abstract: ในงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาพอลิเมอร์ผสมชนิดพอลิคาร์บอเนต (PC)/อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน อะคริเลต (ASA) ที่มีการทนแรงกระแทกสูงสำหรับการประยุกต์ใช้ในงานภายนอกโดยได้มีการเปลี่ยนแปลงชนิดของ ASA (ทั้งหมด 3 ชนิดโดยพิจารณาจากความสามารถในการไหลตัวและความสามารถในการรับแรงกระแทกที่แตกต่างกันซึ่งประกอบด้วย ASA-997, ASA-978 และ ASA-777) และเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่าง PC และ ASA(PC 50-90% โดยน้ำหนัก) เพื่อศึกษาหาผลกระทบของชนิดและสัดส่วนของพอลิเมอร์ผสมที่มีต่อคุณสมบัติทางกายภาพ ทางกล และทางความร้อน โดยค่าสตอเรจมอดูลัสที่อุณหภูมิห้องของพอลิเมอร์ผสม PC/ASA ทั้งหมดที่ตรวจวัดได้จากเครื่องวิเคราะห์คุณสมบัติเชิงกลทางความร้อนมีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณ PC ที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้พอลิเมอร์ผสม PC/ASA-997 นั้นยังแสดงค่ามอดูลัสที่สูงที่สุดเมื่อเทียบกับระบบพอลิเมอร์ผสม PC/ASAที่เหลือคือ PC/ASA-978 และ PC/ASA-777 ส่วนอุณหภูมิการเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้ว (Tg) ของ พอลิเมอร์ผสม PC/ASA ทั้งหมดนั้นพบว่า Tg ทั้งเฟสของ PC และเฟสของ ASA นั้นมีแนวโน้มลู่เข้าหากันเล็กน้อยเมื่อปริมาณ PC ที่เพิ่มขึ้น นั่นแสดงถึงว่าระบบพอลิเมอร์ผสม PC/ASA นั้นจัดอยู่ในพอลิเมอร์ผสมที่สามารถผสมเข้ากันได้บางส่วน ซึ่งได้สอดคล้องจากผลการทดลองที่วิเคราะห์ได้จากเทคนิค Differential Scanning Calorimetry (DSC) ยิ่งไปกว่านั้นค่าความสามารถในการรับแรงกระแทกเมื่อวัสดุมีรอยบากของ พอลิเมอร์ผสม PC/ASA ทั้งหมดที่ทดสอบได้จากเครื่องทดสอบแรงกระแทกนั้นพบว่ามีค่าสูงขึ้นอย่างชัดเจนโดยจะสูงขึ้นเมื่อปริมาณ PC ในระบบที่เพิ่มมากขึ้น โดยที่พอลิเมอร์ผสม PC/ASA-997 นั้นสามารถแสดงค่าความสามารถในการรับแรงกระแทกได้สูงที่สุดอีกด้วย แต่ทว่าพอลิเมอร์ผสม PC/ASA-777 นั้นได้แสดงค่าความสามารถในการไหลตัวได้มากที่สุด โดยที่ค่าความสามารถในการไหลตัวของพอลิเมอร์ผสม PC/ASA ทั้งหมดนั้นจะมีค่ามากขึ้นตามปริมาณ ASA ที่มากขึ้น ในจุดสำคัญนั้น ASA พบว่ายังสามารถช่วยถนวมสีและความสามารถในการรับแรงกระแทกของพอลิเมอร์นั้นให้อยู่คงเดิมได้มาก ซึ่งจากผลการทดลองโดยนำเอา พอลิเมอร์ไปเร่งสภาวะด้วยเครื่องเร่งสภาวะ (QUV) เป็นเวลาสูงสุดถึง 3 สัปดาห์ในเครื่อง โดยค่าความสามารถในการรับแรงกระแทกที่สามารถรักษาไว้ได้จะเพิ่มจาก 77% ถึง 91% เมื่อมีปริมาณการเติม ASA ในระบบเพิ่มจาก 10% ถึง 90% โดยน้ำหนักซึ่งเป็นข้อยืนยันได้ว่า ASA นั้นสามารถช่วยเสริมความสามารถในการใช้งานภายนอกของพอลิเมอร์ผสมนี้ได้
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44886
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.689
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.689
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirisak_la.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.