Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทรัตน์ เจริญกุลen_US
dc.contributor.authorสีมาลา ลียงวาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:43Z
dc.date.available2015-09-18T04:23:43Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46282
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพการพัฒนาครู ปัญหาการพัฒนาครู และแนวทางการพัฒนาครูของโรงเรียนมัธยมศึกษาในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนจำนวน 80 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน 137 คน และครูจำนวน 346 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติพื้นฐานด้วยโปรแกรม SPSS 20.0 หาค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ด้านสภาพการพัฒนาครูของโรงเรียนมัธยมศึกษาในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ได้มีการปฏิบัติการพัฒนาครู ทั้ง 4 ด้าน โดยค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งด้านการกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาครู มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการนำแผนพัฒนาไปใช้ มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ด้านปัญหาการพัฒนาครูโดยรวมอยู่ในระดับน้อย ซึ่งด้านการกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาครู มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด และด้านการนำแผนพัฒนาครูไปใช้มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ส่วนด้านแนวทางการพัฒนาครูมีการพัฒนาครูมี 4 ขั้นตอนดังนี้ 1) การกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาครูคือผู้บริหารมีการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ชัดเจนโดยจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญและมีความกระตือรือร้นในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาโดยวิธีวิเคราะห์การปฏิบัติตามแผนการกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาครู และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนการกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาครูทั้งระดับงาน และบุคคลโดยกระทรวงศึกษาธิการ และกีฬา 2) การวางแผนการพัฒนาโรงเรียนมีการอบรมด้านการวางแผนพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ และเป็นขั้นตอนอย่างละเอียด มีการติดตามตรวจสอบเป็นระยะเพื่อการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระบบอย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับระยะเวลาที่กำหนด 3) การนำแผนพัฒนาไปใช้ในโรงเรียนโดยจัดให้มีการอบรมอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปีการศึกษา มีการศึกษาดูงานทั้งใน และต่างประเทศอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปีการศึกษา มีการสัมมนาทุก 3 เดือน สนับสนุนการลาศึกษาต่อโดยให้ครูมีโอกาสไปศึกษาต่อตามทุนการศึกษาที่กระทรวงศึกษา และกีฬาอนุมัติตามระยะเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด และมีประสิทธิภาพ 4) การประเมินผลการพัฒนามีการวัด และประเมินผลทุกปีการศึกษาเป็นระบบชัดเจน และเข้าใจง่ายมีการติดตามจากคณะกรรมการณ์ตรวจสอบเครื่องมือในการวัด และประเมินผลต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the state, problems and guidelines for development of secondary school teachers in Vientiane capital. Lao P.D.R. The sample population in this study consisted of 80 secondary schools: 137 administrators and 346 teachers. The research instrument was a rating-scaled questionnaire. The statistics used in preliminary data analysis was descriptive statistics (SPSS version 20.0) using frequency, percentage, mean standard deviation and content analysis. The research results revealed that the state of teacher development overall had averages at a high level, while the diagnosing development needs was at the highest and implementing development program was at the lowest. The problems of teacher development had averages at a low level, while diagnosing development needs was at the highest and implementing development program was at the lowest. The guidelines for teacher development could be divided into 4 stages: 1) Diagnosing development Needs with the clear performance management standards by organizing activities to promote awareness of teachers’ interest and enthusiasm in providing the development plan and eager to provide information about teacher development by diagnosing their practice in accordance with the job level. 2) Design of Development Plans in which teachers have to continuously and systematically take part in training having an efficiently systematic monitoring system. 3) Implementing Development Program in school where teachers have to participate in training at least twice a year, taking a study tour at least once a year both in and outside the country, having seminar every 3 months and getting an opportunity to continue their study as deemed appropriate by the Ministry of Education, in order to achieve a set goal with high efficiency. 4) Evaluation of the Personnel Development Program in which schools are to be evaluated every year in a clear and systematic manner with a monitoring scheme run by the committee, in order to efficiently achieve a better standard.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1149-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาบุคลากร -- ลาว -- เวียงจันทน์
dc.subjectการพัฒนาบุคลากร -- การประเมิน
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ -- ลาว -- เวียงจันทน์
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหาร -- ลาว -- เวียงจันทน์
dc.subjectHuman resources development -- Laos -- Vientiane
dc.subjectSchool management and organization -- Laos -- Vientiane
dc.titleแนวทางการพัฒนาครูของโรงเรียนมัธยมศึกษาในนครหลวงเวียงจันทน์แห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)en_US
dc.title.alternativeGUIDELINES FOR THE DEVELOPMENT OF SECONDARY SCHOOL TEACHERS IN VIENTIANE CAPITAL LAO PEOPLE DEMOCRATIC REPUBLIC (LAO. P. D .R)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNuntarat.C@Chula.ac.th,Nuntarat@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1149-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683465827.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.