Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวิตีย์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorณัฐธิดา มุจลินทโมลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-02T03:01:19Z-
dc.date.available2017-02-02T03:01:19Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51624-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractเว็บเซอร์วิซเป็นเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความนิยมในวงการพัฒนาซอฟต์แวร์ เนื่องจากความสามารถในการนำกลับมาใช้ซ้ำ และการนำไปประกอบกัน เพื่อสร้างเป็นแอพพลิเคชันใหม่ รวมไปถึงความสามารถในการเชื่อมต่อระบบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยขนาดของเซอร์วิซซึ่งหมายถึงขอบเขตในการทำงานของเซอร์วิซ หรือปริมาณรายละเอียดในการออกแบบเซอร์วิซจะส่งผลกระทบต่อความสามารถในการนำกลับมาใช้ซ้ำ และการนำไปประกอบกันในบริบทต่างๆ ดังนั้นการออกแบบเซอร์วิซให้มีขนาดที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการจึงเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับผู้ออกแบบ งานวิจัยนี้จึงได้นำเสนอแบบจำลองการวัดขนาดของเว็บเซอร์วิซ โดยอิงการกำกับความหมายบนเอลิเมนต์ต่างๆ ของวิสเดิล ซึ่งแบบจำลองสามารถแบ่งแยกการวัดตามประเภทของขนาด โดยนำการกำกับความหมายมาใช้ในการวิเคราะห์ขอบเขต และรายละเอียดที่สัมพันธ์กับเซอร์วิซเพิ่มเติม นอกจากนี้ยังนำแบบจำลองที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างแบบจำลองการวัดความสามารถในการนำกลับมาใช้ซ้ำ ทั้งแบบการนำเซอร์วิซทั้งหมดไปใช้ซ้ำในการทำงานอื่นๆ และแบบการนำโอเปอเรชันของแต่ละเซอร์วิซไปประกอบกัน เพื่อสร้างความสามารถใหม่ ผู้วิจัยได้พัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการวัดตามแบบจำลอง และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของแบบจำลองโดยนักออกแบบเซอร์วิซจำนวนหนึ่ง ซึ่งให้ความเห็นโดยสรุปว่า แบบจำลองสามารถวัดขนาดของเซอร์วิซได้สอดคล้องกับการพิจารณาของนักออกแบบ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการออกแบบเซอร์วิซ รวมถึงการพัฒนาแอพพลิเคชันที่สร้างจากการประกอบกันของเซอร์วิซen_US
dc.description.abstractalternativeWeb services technology has been one of the mainstream technologies for software development since Web services can be reused and composed into new applications or used to integrate software systems. Granularity or size of a service refers to the functional scope or the amount of detail associated with service design and it has an impact on the ability to reuse or compose the service in different contexts. Designing a service with the right granularity is a challenging issue for service designers and mostly relies on designers’ judgment. This research presents a granularity measurement model for a Web service with semantics-annotated WSDL. The model supports different types of service design granularity, and semantic annotation helps with the analysis of the functional scope and amount of detail associated with the service. Based on granularity measurement, we then develop a measurement model for service reusability and composability. The measurement model is supported by an automated tool and validated by a number of service designers who agree that the measurements can assist in service design and the development of service-based applications.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2081-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเว็บเซอร์วิสen_US
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์en_US
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนาen_US
dc.subjectWeb servicesen_US
dc.subjectApplication softwareen_US
dc.subjectComputer software -- Developmenten_US
dc.titleการวัดขนาดของเว็บเซอร์วิซโดยอิงการกำกับความหมายen_US
dc.title.alternativeMeasuring granularity of web services based on semantic annotationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortwittie.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2081-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nuttida_mu.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.