Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55866
Title: List assignment problems
Other Titles: ปัญหาการกำหนดค่ารายการ
Authors: Wongsakorn Charoenpanitseri
Advisors: Chariya Uiyyasathian
Narong Punnim
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Chariya.U@chula.ac.th
No information provided
Subjects: Graphic methods
Graph theory
กราฟ
ทฤษฎีกราฟ
Issue Date: 2010
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A k-list assignment of a graph G is a function which assigns a set of size k to each vertex of G. Given a k-list assignment L of a graph G, L is called a (k, t)-list assignment when ∣∪υεV(G) L(υ) = t and G is L-colorable when G has a proper coloring f such that f(υ) ε L(υ) for all υ ε V(G). If a graph G is L-colorable for every (k, t)-list assignment L, then G is called (k, t)-choosable and if G is (k, t)-choosable for each positive integer t then G is called k-choosable. In this dissertation, we investigate a sufficient condition to be (k, t)-choosable of n-vertex graphs and n-vertex graphs not containing Kk+1 as a subgraph. Moreover, we establish new strategies to obtain the complete result of 3-choosability of complete bipartite graphs with at most 16 vertices, and study the (k, t)-choosability of the complete bipartite graph K(2Kk-1), (2Kk-1) for all positive integers t.
Other Abstract: การกำหนดค่ารายการแบบ-k ของกราฟ คือฟังก์ชันจากเซตของจุดยอดของกราฟ G ไปเซตของเซตขนาด k ให้ L เป็นการกำหนดค่ารายการแบบ-k ของกราฟ G เรียก L ว่าเป็นการกำหนดค่ารายการแบบ- (k, t) เมื่อ ∣∪υεV(G) L(υ) = t และ G เป็นกราฟระบายสีได้แบบ -L เมื่อ G มีฟังก์ชันการระบายสี f ที่ f(υ) ε L(υ) ทุก υ ε V(G) ถ้ากราฟ G เป็นกราฟระบายสีได้แบบ- L สำหรับทุก L ที่เป็นการกำหนดค่ารายการแบบ- (k, t) จะเรียก G ว่ากราฟเลือกได้แบบ- (k, t) และถ้า G เป็นกราฟเลือกได้แบบ- (k, t) สำหรับทุก t แล้วจะเรียก G ว่าเป็นกราฟเลือกได้แบบ- k ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เราหาเงื่อนไขเพียงพอที่ทำให้กราฟที่มีจุดยอด n จุดเป็นกราฟเลือกได้แบบ- (k, t) และหาเงื่อนไขที่เพียงพอที่ทำให้กราฟที่มีจุดยอด n จุดซึ่งไม่มี Kk+1 เป็นกราฟย่อยเป็นกราฟเลือกได้แบบ- (k, t) นอกจากนั้นเราสร้างกลยุทธ์ใหม่เพื่อที่ได้ผลลัพธ์ทั้งหมดเกี่ยวกับสมบัติการเลือกได้แบบ-3 ของกราฟสองส่วนแบบบริบูรณ์ที่มีจุดยอดไม่เกิน 16 จุด และศึกษาสมบัติการเลือกได้แบบ- (k, t) ของกราฟสองส่วนแบบบริบูรณ์ K(2Kk-1), (2Kk-1)
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2010
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Mathematics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55866
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.945
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2010.945
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wongsakorn Ch.pdf912.6 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.