Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58970
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา บวรกิติวงศ์-
dc.contributor.authorกุสุมา สารดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-05-30T00:05:18Z-
dc.date.available2018-05-30T00:05:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58970-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสัดส่วนของกลุ่มนักศึกษาที่ตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านภูมิหลังการศึกษาและปัจจัยด้านภูมิหลังครอบครัว กับการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศและไม่ศึกษาต่อต่างประเทศ และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สามารถจำแนกกลุ่มนักศึกษาที่มีการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศ และไม่ศึกษาต่อต่างประเทศ โดยการวิเคราะห์จำแนก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จำนวน 12 แห่ง ในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศ ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน การทดสอบไคกำลังสอง และการวิเคราะห์จำแนก ด้วยโปรแกรม SPSS for Window ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) สัดส่วนของกลุ่มนักศึกษาที่ตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศมี 25.75% และกลุ่มนักศึกษาที่ตัดสินใจไม่ศึกษาต่อต่างประเทศมี 74.25% 2) ปัจจัยด้านภูมิหลังการศึกษาที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศและไม่ศึกษาต่อต่างประเทศ ได้แก่ คณะและเกรดเฉลี่ยสะสม ปัจจัยด้านภูมิหลังครอบครัวที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศ และไม่ศึกษาต่อต่างประเทศ ได้แก่ รายได้บิดา รายได้มารดา รายได้ผู้ปกครอง การศึกษาบิดา การศึกษามารดา การศึกษาผู้ปกครอง อาชีพบิดา อาชีพผู้ปกครอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ปัจจัยที่สามารถจำแนกกลุ่มนักศึกษาที่มีการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศและไม่ศึกษาต่อต่างประเทศ เมื่อพิจารณาจากฟังก์ชั่น พบว่า ปัจจัยที่สามารถจำแนกกลุ่มได้คือ จุดมุ่งหมาย ความคาดหวัง ความสามารถ การได้รับการสนับสนุน โอกาส การถูกบังคับ นิสัยและความเคยชิน ข้อผูกพันความเชื่อ โดยสามารถจำแนกกลุ่มของนักศึกษาที่มีการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศและไม่ศึกษาต่อต่างประเทศได้ถูกต้อง 80.80%en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are 1) to study the ratio of students group decision making in further study abroad 2) to study the relationship factors background in education and family to decision making in further study abroad and not 3) to study factors discriminating decision making in further study abroad and not by discriminant analysis. The participants of this research are students in ungraduate level institution of education belong to Office of the Higher Education Commission amount 12 places in Bangkok metropolitan area amount 400 students. The research instruments were decision making in further study abroad questionnaires. The research data are analyzed by employing SPSS for Window for descriptive statistics, Chi-square test and Discriminant Analysis. The research finding were as follows: 1) The ratio of students decision making in further study abroad is 25.75% and the ratio of students non decision making in further study abroad is 74.25%. 2) The factors of background in education relationship to decision making in further study abroad and not had faculty and grade point average and the factors of background in family relationship to decision making in further study abroad students and not had father earnings, mother earnings, parents earnings, father education, mother education, parents education, father occupation and parents occupation, at .05 level of statistical significance. 3) The factors discriminating decision making in further study abroad and not are found that Function, the multiple discriminators are goal, expectation, ability, support, opportunity, forces, habit and customs, commitment and belief orientation respectively and the discriminant function are 80.80% of original grouped cases correctly classified.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.818-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการตัดสินใจen_US
dc.subjectการศึกษาในต่างประเทศen_US
dc.subjectการวิเคราะห์การจำแนกประเภทen_US
dc.subjectDecision makingen_US
dc.subjectForeign studyen_US
dc.subjectDiscriminant analysisen_US
dc.titleปัจจัยจำแนกการตัดสินใจศึกษาต่อต่างประเทศ : การวิเคราะห์จำแนกen_US
dc.title.alternativeFactors discriminating decision making in further study abroad : a discriminant analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuchada.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.818-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KusumaSaradee.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.