Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5998
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัทมศิริ ธีรานุรักษ์-
dc.contributor.authorมงคลรัตน์ บางภู่ภมร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-26T05:43:48Z-
dc.date.available2008-02-26T05:43:48Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745323586-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5998-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อทักษะเบื้องต้นทางประวัติศาสตร์ของเด็กอนุบาล 4 ด้าน ได้แก่ ความเข้าใจเกี่ยวกับเวลา การสืบค้นข้อมูล การตีความหลักฐาน และการสรุปข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นอนุบาล 3 อายุ 5-6 ปี ของโรงเรียนอนุบาลชุมแพ จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองที่ใช้แนวการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ จำนวน 25 คน และกลุ่มควบคุมที่ใช้แนวการสอนแบบปกติ จำนวน 25 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการทดลอง 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดทักษะเบื้องต้นทางประวัติศาสตร์ของเด็กอนุบาล แนวการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์เนื้อหา การจัดการเรียนการสอน ลักษณะของการสอนเป็นการนำเนื้อหาจากสาระที่เด็กควรเรียนรู้จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 มาปรับให้เข้ากับเนื้อหาเชิงประวัติศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ คน วัตถุ เหตุการณ์ สถานที่แนวการสอนประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดปัญหา 2) การสืบค้นข้อมูล 3) การตีความหลักฐาน 4) การสรุปข้อมูล ผลการวิจัย มีดังนี้ 1) หลังการทดลองนักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์มีคะแนนทักษะเบื้อต้นทางประวัติศาสตร์ของสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีปกติที่ระดับนัยสำคัญ .05 2) หลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์มีคะแนนทักษะเบื้องต้นทางประวัติศาสตร์หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองที่ระดับนัยสำคัญ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to study effects of historical method on embryonic historical skills of preschoolers in four aspects: understanding of time, enquiry, interpretation and deducing from source. The samples were fifty preschoolers at the age of five to six years in Anuban Chumphae School. The sample were divided into two groups: 25 children each for experimental group and control group. The experimental group received the historical method instuction; Whereas the control group received the conventional instruction for 8 weeks. The research instrument was a embryonic historical skills test. The instructional process consisted of the principles, objective, contents, and instructional procedure. Four instructional process were: 1) starting point, 2) enquiry, 3) interpretation, 4) deduction from source. The research finding were as follow: 1) After the field test, the score of embryonic historical skills of experimental group were significantly higher than those of from control group at the .05 level 2) After the field test, the score of embryonic historical skills of experimental group were significantly higher than those of before at the .05 level.en
dc.format.extent2587361 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1418-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนen
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (อนุบาล)en
dc.titleผลของการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อทักษะเบื้องต้นทางประวัติศาสตร์ของเด็กวัยอนุบาลen
dc.title.alternativeEffects of using historical method on embryonic historical skills of preschoolersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1418-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mongkonrat_Ba.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.