Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60488
Title: การฟื้นฟูแนวปะการังในธรรมชาติโดยใช้ตัวอ่อนปะการังที่ได้จากการเพาะขยายพันธุ์ในระบบแบบฟัก-4 : วิธีการที่เหมาะสมในการอนุบาลตัวอ่อนปะการังระยะหลังการลงเกาะเพื่อการฟื้นฟูปะการังในธรรมชาติ : รายงานผลการดำเนินงาน
Other Titles: Coral restoration by laboratory seeding – 4: Suitable method for transferring coral spats after settle to natural site
Authors: วรณพ วิยกาญจน์
สุชนา ชวนิชย์
Email: Voranop.V@Chula.ac.th
Suchana.C@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ปะการัง
การอนุรักษ์แนวปะการัง
Issue Date: 2558
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาวิธีการที่เหมาะสมของการอนุบาลตัวอ่อนปะการังเขากวาง Acropora millepora ระยะหลังการลงเกาะเพื่อการฟื้นฟูปะการังในธรรมชาติ โดยประเมินจากอัตรารอดและการเติบโตของปะการังภายหลังการลงเกาะบนพื้นผิวเมื่อนำไปอนุบาลในทะเลเป็นระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน ผลการศึกษาพบว่า อัตรารอดของปะการังมีค่าสูงสุดเมื่อปะการังอยู่บนแผ่นกระเบื้องดินเผาและยึดติดกับโครงสร้างซีเมนต์ในทะเล (91%) ขณะที่ปะการังบนฝาครอบท่อพีวีซี บนก้อนหินธรรมชาติ หรือที่ยึดโดยเชือกแขวนกับกระชังกลางน้ำมีอัตราการรอดต่ำกว่าที่ระดับ 49 – 71% ตามลำดับ ในส่วนการเติบโตนั้น ไม่พบความแตกต่างกันอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างชุดการทดลอง และการเติบโตของปะการังแต่ละชุดการทดลองอยู่ระหว่าง 1.6-3.0 เซนติเมตร ต่อ 6 เดือน ดังนั้น วิธีการที่เหมาะสมของการอนุบาลตัวอ่อนปะการังระยะหลังการลงเกาะเพื่อการฟื้นฟูปะการังในธรรมชาติคือ การอนุบาลโดยให้ตัวอ่อนยึดตึดกับแผ่นกระเบื้องดินเผา ก่อนที่จะนำไปอนุบาลในทะเลโดยให้แผ่นกระเบื้องยึดตึดกับกองหินธรรมชาติในทะเล
Other Abstract: Different methods of husbandry and transferring of coral spats, Acropora millepora after settlement stage were investigated for 6 month period. The results showed that the survival rates of juvenile corals, which were attached on tiles and then transferred to cement structures in the natural site were higher (91%) than that of on PVC caps or attached on the floating cages (49-71%). However, for the growth rates, there was no significant difference between different methods. The growth rates of all methods ranged between 1.6-3.0 cm per 6 months. Thus, the suitable method for transferring coral spats after settlement stage was when corals were attached on the tiles and transferred to cement structures in the natural site.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60488
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Voranop Pa_Res_2558.pdf384.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.