Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61874
Title: Ethyl ester procuction from palm oil/palm fatty acid catalyzed by immobilized candida rugosa lipase
Other Titles: การผลิตเอทิลเอสเทอร์จากน้ำมันปาล์มและกรดไขมันปาล์มซึ่งถูกเร่งปฏิกิริยาด้วยไลเปสจาก Candida rugosa ที่ถูกตรึง
Authors: Chanudom Muangchim
Email: No information provinded
Advisors: Muenduen Phisalaphong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: muenduen.p@chula.ac.th
Subjects: Immobilized enzymes
Lipase
Biodiesel fuels
เอนไซม์ตรึงรูป
ไลเปส
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
Issue Date: 2010
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Bacterial cellulose (BC) is a promising material to be applied as an enzyme-immobilizing support because of its unique physical and biological properties. In this study, the integration method of adsorption and entrapment was applied for lipase immobilization. Firstly, physical adsorption of soluble C. rugosa (CARL) on freeze dried BC-alginate support was performed. Secondly, the immobilized lipase on the BC-alginate support was entrapped within the matrix of calcium alginate (CARLE). The suitable conditions of the immobilization process were as follows: 10% (w/w) CARL to oil; the diameter of circular freeze dried BC-alginate piece of 1.20 cm with the thickness of 3 mm. Sodium alginate solution at 2% (w/v) was used to form gelling layer with a cross linking agent of 120 mM calcium chloride. The immobilized enzyme was applied to catalyze the reaction for biodiesel production from palm oil/ palm fatty acid with ethanol. In this research, the optimal conditions based on the enzymatic transesterification were at the molar ratio of palm oil to 95% (v/v) ethanol of 1:9, reaction temperature of 45 °C, shaking speed at 250 rpm, reaction time of 36 hours and 3 layers of calcium alginate coated on CARLE (CARLE-3L). The yield of the ester obtained by using free lipase (92.61%) was higher than that of CARLE-3L (82.82%), CARLE-4L (70.60%) and CARLE-2L (66.94%), respectively. However, the immobilized enzyme showed higher thermal, mechanical and acid resistance properties than the free enzyme. Besides, increasing of the entrapped layers with calcium alginate could prevent leaching and protect enzyme against violent conditions. It was found that the method of adding free fatty acid with interval time could be applied to decrease the deactivation of the biocatalyst from the acidity of the free fatty acid.
Other Abstract: แบคทีเรียเซลลูโลส(BC)เป็นวัสดุที่มีศักยภาพในการนำมาประยุกต์ใช้เป็นตัวพยุงในการตรึงเอนไซม์เนื่องจากสมบัติที่โดดเด่นทั้งทางกายภาพและทางชีวภาพ ในงานวิจัยนี้ ได้นำทั้งวิธีการดูดซับและการห่อหุ้มมาร่วมกันสำหรับการตรึงเอนไซม์ไลเปส ในขั้นตอนแรกเป็นการดูดซับทางกายภาพของสารละลายไลเปสจากCandida rugosa (CARL) บนตัวพยุงที่ผ่านการทำแห้งเยือกแข็งของแบคทีเรียเซลลูโลสผสมอัลจิเนต ในขั้นตอนที่สอง ไลเปสที่ถูกตรึงบนตัวพยุงของแบคทีเรียเซลลูโลสซผสมอัลจิเนตจะถูกนำไปห่อหุ้มภายในเมทริกซ์ของแคลเซียมอัลจิเนต (CARLE) สภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการตรึงเอนไซม์ประกอบด้วย เอนไซม์ไลเปสเท่ากับ 10% (น้ำหนักเอนไซม์ต่อน้ำมัน) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตัวพยุงเท่ากับ 1.2 เซนติเมตร ที่ความหนาของแผ่นตัวพยุงเท่ากับ 3 มิลลิเมตร สารละลายโซเดียมอัลจิเนตที่ความเข้มข้นเท่ากับ 2เปอร์เซ็นต์(น้ำหนักต่อปริมาตร)ถูกใช้ในการทำเป็นชั้นเจลโดยใช้สารสร้างพันธะคือแคลเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้นเท่ากับ 120 มิลลิโมลาร์ เอนไซม์ที่ถูกตรึงถูกใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มและกรดไขมันปาล์มกับเอทานอล ในงานวิจัยนี้สภาวะที่มีความเหมาะสมในการผลิตไบโอดีเซลโดยปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันด้วยเอนไซม์คือ สัดส่วนโมลาร์ของน้ำมันต่อ 95%เอทานอลเท่ากับ 1:9 อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยาคือ 45 °C ความเร็วในการปั่นกวนเท่ากับ 250 รอบต่อนาที เวลาในการเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ 36 ชั่วโมง และจำนวนชั้นของแคลเซียมอัลจิเนตซึ่งหุ้มทับบน CARLE เท่ากับ 3 ชั้น (CARLE-3L) สัดส่วนผลได้ของเอสเทอร์ที่ได้จากการใช้เอนไซม์อิสระ(92.61%) สูงกว่าการใช้เอนไซม์ที่ถูกตรึงและห่อหุ้มด้วยแคลเซียมอัลจิเนตจำนวน 3 ชั้น(82.82%) 4 ชั้น(70.60%)และ 2 ชั้น(66.94%)ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม เอนไซม์ที่ถูกตรึงมีสมบัติความต้านทานต่อความร้อน แรงทางกลและสภาวะความเป็นกรด สูงกว่าเอนไซม์อิสระ นอกจากนี้การเพิ่มจำนวนชั้นในการห่อหุ้มด้วยแคลเซียมอัลจิเนตสามารถช่วยลดการหลุดออกของเอนไซม์และปกป้องเอนไซม์ต่อสภาวะที่รุนแรง โดยพบว่า วิธีการเติมกรดไขมันอิสระในช่วงเวลาต่างๆสามารถช่วยลดการเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพจากความเป็นกรดของกรดไขมันอิสระ
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2010
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61874
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.666
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2010.666
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5170555021_2010.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.