Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64843
Title: Governmentality, resettlement, and resistance of ethnic minority migrants in Vietnam: a case study in Dak Lak province
Other Titles: แนวคิดการปกครองชีวญาณในโครงการตั้งถิ่นฐานใหม่สำหรับชนกลุ่มน้อยที่ย้ายถิ่นไปอยู่ภาคกลางตอนบน: กรณีศึกษาในจังหวัดดั๊กลัก ประเทศเวียดนาม
Authors: Chau Le Minh Doan
Advisors: Carl Middleton
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Political Science
Advisor's Email: Carl.M@Chula.ac.th
Issue Date: 2019
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research aimed to learn about the governmentality of the Vietnamese state toward ethnic minority migrants, through the examination of resettlement policy. This study focused on the case study in Cu Kbang commune, Ea Sup district, Dak Lak province, Vietnam. Base on the concepts of "The will to improve" of Tania Li (T. Li, 2007), the researchers examined the resettlement policy as a solution proposed by the Government to resolve the situation of the ethnic minority migration in Central Highland Vietnam. The research used the qualitative methodology and discourse analysis regarding the conceptual framework of Escobar and Li on policy discourse analysis (Escobar, 2011; T. Li, 2007). Hence, the research examines the problems in three-layer: the discourse from above resulting at the resettlement solution; the ethnic minorities rationalize to migrating and interacting with the resettlement policy; the ground situations as the consequents of two discourse interactions. The research found that ethnic minority behaviors have shaped by the governmentality of the state. Not only the migration act but also how they interact with the resettlement policy at the immigrant place. Also, the local authorities have pointed out the ethnic minority migrant is the group that needs to help to have a better life. Thus, the resettlement policy has been proposed to solve the problem — however, the ethnic minority's wish and the government vision not match. As a result, the resettle migrant life still dealing with a lot of challenges. Nevertheless, there a group of migrants refused to resettle and has shown a resistance act toward the policy. The research argument the resettlement is the technical solution of governmentality, representing the government discourse. Moreover, showing the control attempt toward the ethnic minorities, thus, shaping their behaviors toward the government vision.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการปกครองชีวญาณของประเทศเวียดนามที่ส่งผลต่อกลุ่มผู้อพยพซึ่งถือเป็นประชากรชนกลุ่มน้อยในประเทศ ด้วยวิธีการตรวจสอบเกี่ยวกับนโยบายการตั้งถิ่นฐานใหม่ โดยงานวิจัยดังกล่าวจะมุ่งเน้นไปที่กรณีศึกษาของชุมชน Cu Kbang อำเภอ Ea Sup จังหวัดดั๊กลั๊ก ประเทศเวียดนาม ผ่านมโนทัศน์ของ ทาเนีย ลี (Tania Li) เรื่องความต้องการที่จะพัฒนา (The Will To Improve) เนื้อหาของงานวิจัยนี้กล่าวถึง กระบวนการการออกแบบนโยบายเพื่อการแก้ไขปัญหาสถานการณ์เชิงลบของกลุ่มผู้อพยพชนกลุ่มน้อย ในพื้นที่เขตภูเขาแถบกลางของประเทศเวียดนาม ซึ่งวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพมาใช้ร่วมกันกับการวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ โดยอ้างอิงจากกรอบความคิดของเอสโกบาร์ (Escobar) และ ทาเนีย ลี (Tania Li) เป็นหลัก จากการวิเคราะห์แนวคิดดังกล่าวพบว่า มีปัญหาเกิดขึ้นทั้งหมด 3 ด้านด้วยกัน อันได้แก่ 1. วาทกรรมที่กล่าวถึงการแก้ปัญหาด้วยนโยบายการตั้งถิ่นฐานใหม่ 2. ปฏิกิริยาของกลุ่มผู้อพยพต่อนโยบายของรัฐบาล 3. สถานการณ์ในพื้นที่อันเกิดจากผลกระทบที่ได้รับจากข้อ 1 และ 2 งานวิจัยนี้เล็งเห็นว่า วิถีชีวิตของกลุ่มผู้อพยพถูกหล่อหลอมจากนโยบายการปกครองของรัฐ ตั้งแต่ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่นฐาน ไปจนถึงวิธีการที่กลุ่มคนเหล่านี้เลือกใช้ตอบโต้เจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งรัฐบาลเวียดนามมองว่า กลุ่มผู้อพยพชนกลุ่มน้อยคือ กลุ่มบุคคลที่สมควรถูกควบคุมด้วยกฎหมายเพื่อความสามารถในการเข้าถึงคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า ซึ่งก่อให้เกิดการผลักดันนโยบายการตั้งถิ่นฐานในที่ใหม่ขึ้นเพื่อใช้ในทางปฏิบัติในเวลาต่อมา อันจะนำไปสู่ทางออกของปัญหานี้ในที่สุด แต่อย่างไรก็ตาม วิทยานิพนธ์ฉบับนี้กลับค้นพบว่า ความต้องการที่แท้จริงของชนกลุ่มน้อยมิได้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับวิสัยทัศน์ของรัฐบาลเท่าใดนัก แม้ว่าจะมีผู้อพยพบางส่วนตัดสินใจตั้งถิ่นฐานใหม่ตามแนวทางของรัฐบาล แต่พวกเขากลับต้องประสบกับอุปสรรคและปัญหาต่างๆ มากมาย อันส่งผลให้เกิดสภาวะเสียงแตกขึ้น ทำให้ผู้อพยพอีกหลายกลุ่มปฎิเสธที่จะตั้งถิ่นฐานใหม่ตามนโยบายของรัฐบาล งานวิจัยนี้จึงปฏิเสธแนวคิดที่ว่า นโยบายการตั้งถิ่นฐานใหม่คือกุญแจสำคัญที่นำไปสู่การปกตรองตนเองแบบชีวญาณ ในทางกลับกัน ยังมองว่านโยบายดังกล่าวแสดงให้เห็นถึง มุมมองและทัศนคติเชิงลบของรัฐบาลที่มีต่อสถานภาพของผู้อพยพชนกลุ่มน้อย ผ่านทางวาทกรรมการพัฒนาประเทศ ซึ่งหากเกิดการผลิตซ้ำความคิดดังกล่าวออกไป อาจนำไปสู่การก่อร่างบรรทัดฐานใหม่ขึ้นในสังคมที่ทำให้ทัศนคติในแง่ลบที่มีต่อผู้อพยพชนกลุ่มน้อยกลายเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ หากเป็นเช่นนั้น กลุ่มผู้อพยพชนกลุ่มน้อยจะถูกควบคุมวิถีชีวิตภายใต้การใช้อำนาจของรัฐบาลผ่านทางนโยบาย ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ไม่เป็นไปตามความต้องการที่แท้จริงของพวกเขาในที่สุด  
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2019
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Development Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64843
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.300
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2019.300
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6181206024.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.