Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65718
Title: ชีวิตประจำวันของชาวสยามในกรุงเทพฯ พ.ศ.2426-2475
Other Titles: Everyday life of the Siamese in Bangkok, 1883-1932
Authors: จิรวัฒน์ แสงทอง
Advisors: สุวิมล รุ่งเจริญ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Advisor's Email: Suvimol.R@Chula.ac.th
Subjects: ชาวไทย -- ไทย -- กรุงเทพฯ
กรุงเทพฯ -- ความเป็นอยู่และประเพณี
ไทย -- ภาวะสังคม
ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2424-2475
Thais -- Thailand -- Bangkok
Bangkok -- Social life and customs
Thailand -- Social conditions
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาลักษณะวิถีชีวิตประจำวันของชาวเมืองกรุงเทพฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2426-2475 โดยพิจารณาวิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางกายภาพของเมืองปี พ.ศ. 2426 คือช่วงเวลาที่วิถีชีวิตของผู้คนเมืองกรุงเทพฯ กำลังเปลี่ยนผ่านจากวิถีชีวิตใน "สังคมนำ" ไปสู่ "สังคมบก" มีการตัดถนนมากขึ้น รองรับการตังบ้านเรือนและกิจกรรมต่าง ๆ ทางสังคมที่ย้ายไปสู่ถนนดังกล่าว สถานะการเป็น "เมืองการค้า" ของเมืองกรุงเทพฯ ช่วงปี พ.ศ. 2426 กระตุ้นให้ชาวเมืองประกอบอาชีพหลากหลาย สร้างความมั่งคั่งให้แก่ตนเองและครอบครัว การขยายตัวของระบบการศึกษาสมัยใหม่ และกิจกรรมใหม่ ๆ ทางสังคม ทำให้เกิดชาวเมืองรุ่นใหม่ประกอบอาชีพข้าราชการพ่อค้านักธุรกิจ และผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะต่าง ๆ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การขยายตัวของการลงทุนทางธุรกิจที่หลากหลายของนายทุนนักธุรกิจ ประกอบกับโลกทัศน์และการรับรู้ใหม่ ๆ ในกลุ่มชาวเมืองรุ่นใหม่ ทำให้คนกลุ่มนี้เริ่มสร้างรสนิยมการบริโภค การใช้เวลาว่าง และวิถีชีวิตประจำวันของตัวเองขึ้นมา สถานภาพทางเศรษฐกิจ และการมีบทบาททางสังคมที่เท่าเทียมกับชนชั้นนำเดิมมากขึ้น เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนกลุ่มนี้ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ด้วยการเข้าไปมีบทบาทนำ และสนับสนุนการปฏิวัติ 2475 ในที่สุด
Other Abstract: This thesis aims to study the everyday life of the Siamese in Bangkok during 1883-1932, focusing on the change in the way of life in relation to the change in the physical landscape of the urban city of Bangkok. Social life of the Bangkok urbanites began to transform from that of riverine based to land based in 1883 when more new roads were constructed and the center of social activities as well as choice of residences shifted toward roadside. By 1883, Bangkok also became a trading center in its own right and more of its residents were engaged in a variety of trade and profession, accumulating greater wealth of their own and for their families. The growth of modern education system and the introduction of new social activities brought forth a new generation of Bangkok urbanites who were mostly government officials, businessmen and professionals. After WW I, largely because of the expansion of certain manufacturing industries for domestic consumption and their changing worldview, this new generation of Bangkok urbanites gradually created their own consumption taste, leisure and way of life. Their economic status and social role were increasingly apparent and in many ways rivaled those of the old elite. Such social transformation was, among others, responsible for their demand for greater political participation. Many of them eventually became leaders of the 1932 Coup and others were its supporters.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ประวัติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65718
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.529
ISSN: 9741742843
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2003.529
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jirawat_sa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ840.01 kBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_ch1_p.pdfบทที่ 11.27 MBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_ch2_p.pdfบทที่ 21.82 MBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_ch3_p.pdfบทที่ 33.35 MBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.72 MBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_ch5_p.pdfบทที่ 51.84 MBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_ch6_p.pdfบทที่ 6924.94 kBAdobe PDFView/Open
Jirawat_sa_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.