Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67897
Title: ความสนใจในการอ่านของบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ
Other Titles: Reading interest of state university librarians
Authors: ทรงวุฒิ เหมะอนันตะวงศ์
Advisors: สุพรรณี วราทร
Advisor's Email: Supannee.V@Chula.ac.th
Subjects: การอ่าน -- ไทย
ความสนใจในการอ่าน -- ไทย
บรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- หนังสือและการอ่าน -- ไทย
Reading -- Thailand
Reading interests -- Thailand
Academic librarians -- Books and reading -- Thailand
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การอ่านและความสนใจในการอ่านของบรรณารักษ์ห้องสมุของมหาวิทยาลัยของรัฐในด้าน เวลาที่ใช้ในการอ่าน วัตถุประสงค์ในการอ่านประเภทและเนื้อหาของสารนิเทศที่อ่านและปัญหาในการอ่าน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ บรรณารักษ์หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยของรัฐทั่วประเทศ 23 แห่ง จำนวน 355 คน ผลการวิจัยพบว่า บรรณารักษ์ส่วนใหญ่ใช้เวลาในการอ่านสื่อสารนิเทศ 1-3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ วัตถุประสงค์ในการอ่าน 3 อันดับแรก ได้แก่ อ่านเพื่อได้รับความรู้ เพื่อได้รับข้อมูลข่าวสารและเพื่อการปฏิบัติงาน บรรณารักษ์ทุกคนอ่านสื่อสารนิเทศสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ บรรณารักษ์ส่วนใหญ่อ่านหนังสือ หนังสือพิมพ์และวารสาร/นิตยสาร ตามลำดับ การอ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ บรรณารักษ์ส่วนใหญ่อ่านเว็บไซต์และฐานข้อมูลตามลำดับ บรรณารักษ์ทุกคนอ่านเนื้อหา ในวิชาชีพบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ทุกด้านและสนใจอ่านเนื้อหาด้านเทคโนโลยีสารนิเทศในระดับมากและสนใจอ่านเนื้อหาด้านอื่น ๆ ในระดับปานกลางและน้อย ปัญหาในการอ่านของบรรณารักษ์ในระดับมาก คือ บรรณารักษ์ไม่ชอบอ่านและสุขภาพไม่ดี
Other Abstract: The objective of this research is to study the reading interest of state university librarians in terms of time spent for reading, objective, types. Contents of the information media and problems in reading. The questionnaires were used to collect data from 355 librarians in 23 state university. The results of the research revealed that most of the librarians read 1-3 hours per week. Their first 3 objectives in reading were: for knowledge, for information and for working. All the librarians read painted materials and electronic media. The printed materials read by most of the librarians were book, newspapers and journal/magazine respectively. The electronic media read by them were website and database. Every librarian read the content on library and information science in all aspects and most of them interested in reading media with content on information technology at high level and on others contents at moderate and low levels. The problems on reading encountered by university librarian at high level were the lack of reading habit and unhealthy.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67897
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.486
ISBN: 9741437374
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.486
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Songvut_he_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ847.04 kBAdobe PDFView/Open
Songvut_he_ch1_p.pdfบทที่ 1851.86 kBAdobe PDFView/Open
Songvut_he_ch2_p.pdfบทที่ 21.14 MBAdobe PDFView/Open
Songvut_he_ch3_p.pdfบทที่ 3828.07 kBAdobe PDFView/Open
Songvut_he_ch4_p.pdfบทที่ 43.6 MBAdobe PDFView/Open
Songvut_he_ch5_p.pdfบทที่ 51.48 MBAdobe PDFView/Open
Songvut_he_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.