Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71708
Title: สัมพันธภาพระหว่างหนังสือพิมพ์กับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ในช่วงดื่มน้ำผึ้งพระจันทร์
Other Titles: The relationship between newspapers and elected governments during the honeymoon period
Authors: ดรุณี คำสุข
Advisors: ดวงกมล ชาติประเสริฐ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Duangkamol.C@chula.ac.th
Subjects: สื่อมวลชน
หนังสือพิมพ์กับการเมือง
Mass media
Press and politics
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา การฮันนีมูนระหว่างหนังสือพิมพ์กับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ว่าปรากฏจริงหรือไม่ โดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหาการแสดงความคิดเห็นแง่บวกเกี่ยวกับรัฐบาล ที่ปรากฎในบทบรรณาธิการ และ คอลัมน์ประจำ ในช่วง 90 วันแรกของรัฐบาลจำนวน 5 รัฐบาล ผู้วิจัยแบ่งช่วง 90 วันแรกออกเป็น 2 ช่วงย่อย คือ ช่วงต้น เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ถึง วันที่ 45 ของการปฏิบัติงาน และช่วงปลาย เริ่มตั้งแต่วันที่ 46 ถึง 90 ของการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ผู้วิจัยยังศึกษาการแสดงความคิดเห็น แง่บวกเกี่ยวกับรัฐบาล ที่ปรากฏในช่วงหลังฮันนีมูน เพื่อนำผลที่ได้มาเปรียบเทียบกับช่วง 90 วันแรกด้วย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขั้นแรกสุ่มเลือกหนังสือพิมพ์มา 5 ชื่อฉบับ ขั้นที่สองวิเคราะห์บทความแสดงความคิดเห็นแบบจับประเด็นดามเกณฑ์ และขั้นสุดท้ายทดสอบสมมติฐานที่ระดับ .01 ผลการวิจัยพบว่า 1. ช่วงต้นปรากฏความคิดเห็นแง่บวกมากกว่าช่วงปลาย และช่วงหลังฮันนีมูนอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 2. การฮันนีมูนที่ปรากฏมี 3 ลักษณะ คือ การฮันนีมูนที่หนังสือพิมพ์ละเว้นการดำหนีรัฐบาล การฮันนีมูนที่หนังสือพิมพ์ให้การสนับสนุนรัฐบาล และการฮันนีมูนลักษณะที่เกี่ยวกับตัวนายกรัฐมนตรี กล่าวโดยสรุปคือ ช่วง 90 วันแรกของทุกรัฐบาล มีการฮันนีมูนระหว่างหนังสือพิมพ์กับรัฐบาลปรากฏจริง และการฮันนีมูนลักษณะที่หนังสือพิมพ์ละเว้นการตำหนิรัฐบาลปรากฏมากที่สุด
Other Abstract: The objective of this study was to find out whether there actually were honeymoon periods between newspapers and elected governments. It examined whether five randomly selected newspapers portrayed, through editorials and commentaries, the last five elected governments of the country more positively during their early days on duty than towards the ends. The researcher compared the numbers of positive editorials and commentaries found during the first 45 days or the first half of the “honeymoon period” to those found between the 46th and the 90* days or the second half of the “honeymoon period” and during the "post-honeymoon period.” The result are as follows : 1. Positive editorials and commentaries are most numerous during the first half of the honeymoon period and subsequently decline through the second half toward the post honeymoon period. The differences were statistically significant at p<.01 2. Three types of benign portrayals of the governments are found : refraining from reproach, showing support for the government, presenting the prime ministers’ personal stones. The study concludes that honeymoon periods actually exist, and that benign portrayals of the government most often found during the honeymoon periods are refraining from reproach. The researcher also examined how the political circumstances might have affected the nature of the honeymoon period of each government.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การหนังสือพิมพ์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71708
ISBN: 9746372033
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Darunee_kh_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ331.75 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_kh_ch1.pdfบทที่ 1279.12 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_kh_ch2.pdfบทที่ 2614.82 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_kh_ch3.pdfบทที่ 3520.02 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_kh_ch4.pdfบทที่ 41.8 MBAdobe PDFView/Open
Darunee_kh_ch5.pdfบทที่ 5651.12 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_kh_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.