Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7205
Title: การวิเคราะห์วงจรแปลงผันที่ใช้หน่วยเรียงกระแสโดยมีการตรึงแรงดันของตัวเก็บประจุ
Other Titles: An Analysis of converters using rectifier control-cell with capacitor-voltage clamp
Authors: วชิระ บูรณสิทธิเวช
Advisors: ยุทธนา กุลวิทิต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Youthana.K@chula.ac.th
Subjects: การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
คอนเวอร์เตอร์
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาการทำงานของวงจรแปลงผันที่มีโครงสร้างของวงจรแปลงผันพื้นฐานทั้งสี่รูปแบบ ที่ใช้หน่วยควบคุมเรียงกระแสที่มีการตรึงแรงดันทั้งสองด้าน การหาแบบจำลองของวงจรแปลงผันใช้วิธีการเฉลี่ยวงจร ได้คำนวณอัตราการแปลงผันของวงจรจากแบบจำลองไฟตรง และคำนวณหาฟังก์ชั่นโอนย้ายต่างๆ ที่สำคัญของวงจรแปลงผันจากแบบจำลองสำหรับสัญญาณขนาดเล็ก ถ้าแหล่งควบคุมของหน่วยควบคุมเรียงกระแสเป็นแหล่งกระแสอุดมคติที่มีรูปคลื่นไซน์ ผลการคำนวณทางทฤษฎีและผลการทดลองจะมีค่าสอดคล้องกัน สำหรับสัญญาณที่มีความถี่ต่ำครึ่งหนึ่งของความถี่แหล่งกระแส แต่เมื่อใช้วงจรอินเวอร์เตอร์เป็นแหล่งควบคุมของหน่วยควบคุมเรียงกระแส การคำนวณจะใช้การประมาณด้วยความถี่หลักมูลเพื่อลดความซับซ้อนของการคำนวณ และผลการคำนวณทางทฤษฎีจะมีค่าสอดคล้องกับผลการทดลองเฉพาะสัญญาณที่มีความถี่ต่ำ
Other Abstract: The operation of the four basic converter configurations using double-side voltage clamping rectifier control-cell was investigated. Average models of the conveters were derived using circuit-averaging technique. DC conversion ratios of the converters were calculated from their dc circuit model. Important ac small signal transfer functions were calculated their ac small-signal models. If an ideal sinusoidal current source is used as a control source for the rectifier control cell, good agreement between the theoretical and experimental results are obtained for signal frequency up to half of the current source's frequency. When a series resonant inverter is used as a control for the rectifier control cell, fundamental frequency approximation analytical technique is used to alleviate the complexity of the calculations, and the theoretical values will agree well with those obtained experimentally only for signal in the low frequency range.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7205
ISBN: 9741745281
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wachira.pdf5.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.