Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNantaya Yanumet-
dc.contributor.advisorHathaikarn Manuspiya-
dc.contributor.authorKarnthidaporn Wattanakul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-08-17T05:38:39Z-
dc.date.available2021-08-17T05:38:39Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74915-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2010en_US
dc.description.abstractTwo approaches to improve thermal conductivity of epoxy composite are considered in this work. One is the approach to form a conductive network and the other approach is the improvement in interfacial adhesion between matrix and filler by surface modification of filler. According to the first approach, the effects of different types and particle sizes of metal oxide on the thermal conductivity of metal oxide-filled epoxy composite is studied. The SEM micrographs of the fractured surface show improvement in particle dispersion of nano-size metal oxide particles resulting in an increase in thermal conductivity of composite. The effect of mixing conditions of the BN -filled epoxy composite is investigated. The thermal conductivity f BN -filled epoxy composite can be enhanced with increases in mixing speed, time and temperature. A maximum thermal conductivity of 1.68 W /m K is obtained at 37 vol% filler content and the mixing conditions of 300 rpm , 30 min, 30c. Furthermore, surface modifications of BN with different methods: conventional silane treatment, admicellar polymerization and surfactant treatment are also investigated. The thermal conductivity of BN-filled epoxy composite is significantly enhanced by admicellar polymerization and surfactant treatment. The mechanical properties of the composite also improve significantly.-
dc.description.abstractalternativeแนวทางในการปรับปรุงสมบัติการนำความร้อนของสารคอมพอสิทอีพอกซีสอแนวทางได้รับความสนใจในงานวิจัยนี้ แนวทางแรกใช้วิธีการเสริมสร้างโครงข่ายการนำความร้อนภายในสารคอมพอสิท ส่วนอีกแนวทางหนึ่งเป็นการเพิ่มแรงยึดติดระหว่างสารอีพอกซีกับสารเติมแต่งโดยการดัดแปรพื้นผิวของอนุภาคสารเติมแต่ง การปรับปรุงสมบัติการนำความร้อนในแนวทางแรกนั้น งานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของประเภทและขนาดอนุภาคของสารประกอบโลหะออกไชต์ที่มีต่อความสามารถในการนำความร้อนของสารคอมพอสิทที่เติมแต่งด้วยสารประกอบโลหะออกไซด์ ซึ่งจากผลการทดลองพบว่าความสามารถในการนำความร้อนของสารคอมพอสิทดีขึ้น เมื่อมีการใช้สารประกอบโลหะออกไซต์ที่มีขนาดอนุภาคในระดับนาโนเมตร เนื่องจากอนุภาคเหล่านี้สามารถกระจายตัวได้ดีในสารอีพอกซี นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาผลของภาวะที่ที่ใช้ในการผสมต่อการเพิ่มความสามารถในการนำความร้อนของสารคอมพอสิทระหว่างโบรอนไนไตรด์กับอีพอกซี ผลการทดลองพบว่าความสามารถในการนำความร้อนของสารคอมพอสิทเพิ่มขึ้นเมื่อใช้เวลาในการผสมนานขึ้น รวมทั้งเมื่อใช้ความเร็วและอุณหภูมิในการผสมที่สูงขึ้น โดยค่าการนำความร้อนสูงสุคที่ได้คือ 1.68 วัตต์/เมตร-เคลวิน ซึ่งได้จากการใช้สารเดิมแต่งในปริมาณ 37 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ทำการผสมที่ความเร็ว 300 รอบต่อนาที เป็นเวลา 30 นาที ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังได้ศึกษาและเปรียบเทียบผลของการดัดแปรพื้นผิวของสารเติมแต่ง โบรอนไนไตรต์ โดยใช้สารจำพวกไซเลน, การใช้กระบวนการทำแอดไมเซลลาร์พอลิเมอไรเซชั่น,และการใช้สารลดแรงตึงผิว เพื่อเพิ่มความสามารถในการยึดติดของสารเติมแต่งกับสารอีพอกซีผลการทดลองพบว่ากระบวนการทำแอดไมเซลลาร์พอลิเมอไรเซชั่นและการใช้สารลดแรงตึงผิวช่วยเพิ่มความสามารถในการนำความร้อนและยกระดับสมบัติเชิงกลของสารคอมพอสิทอย่างเห็นได้ชัด-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectEpoxy compounds-
dc.subjectComposite materials-
dc.titleImprovement in the thermal conductivity of particulate-filled epoxy compositeen_US
dc.title.alternativeการปรับปรุงสมบัติการนำความร้อนของสารคอมพอสิทอีพอกซีen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorHathaikarn.Ma@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Karnthidaporn_wa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ990.08 kBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch1_p.pdfบทที่ 1638.11 kBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch2_p.pdfบทที่ 21.11 MBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch3_p.pdfบทที่ 3781.15 kBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch4_p.pdfบทที่ 41.16 MBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch5_p.pdfบทที่ 51.73 MBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch6_p.pdfบทที่ 61.76 MBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch7_p.pdfบทที่ 71.4 MBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_ch8_p.pdfบทที่ 8611.55 kBAdobe PDFView/Open
Karnthidaporn_wa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.