Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิลปชัย สุวรรณธาดา-
dc.contributor.advisorเจริญทัศน์ จินตนเสรี-
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorวิบูลย์ ชลานันต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-29T07:10:34Z-
dc.date.available2009-08-29T07:10:34Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746378449-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10739-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสำหรับคนไทยวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ผู้วิจัยได้วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ประกอบและรายการทดสอบของสมรรถภาพทางกายและตัวบ่งชี้สุขภาพทางกาย โดยผ่านการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 ท่าน จากนั้นนำมาสร้างเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำหรับคนไทยวัยผู้ใหญ่ตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นคนไทยจากทุกภาคของประเทศที่มีอายุระหว่าง 20-35 ปี มีสำมะโนประชากรและพักอยู่ในประเทศไทย ใช้การสุ่มแบบบังเอิญและแบบเจาะจง จำนวน เพศชาย 1,451 คน หญิง 1,887 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน ขอบเขตพิสัยควอไทล์ที่ 1-3 ดัชนีความสอดคล้อง สหสัมพันธ์คาโนนิคอล ที-เทสต์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และเปอร์เซ็นไทล์ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายที่นำมาใช้ในแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับคนไทยวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ประกอบด้วย ความอดทนของระบบหัวใจและการหายใจ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทนของกล้ามเนื้อ สัดส่วนที่เป็นส่วนประกอบของร่างกาย และความอ่อนตัว รายการทดสอบที่นำมาใช้ในแต่ละองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย มีดังนี้ การวิ่ง-เดิน 1,600 เมตร การวัดแรงบีบมือ การลุก-นั่ง 60 วินาที การวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง และการนั่งก้มตัวไปข้างหน้า ตามลำดับ 2. ค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย กับการวัดตัวบ่งชี้ด้านสุขภาพทางกาย สำหรับเพศชายมีค่า .80 และหญิงมีค่า .87 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 3. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับคนไทยวัยผู้ใหญ่ตอนต้น มีความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามสภาพ และความตรงตามโครงสร้าง และมีค่าความเที่ยงของรายการทดสอบการวิ่ง-เดิน 1,600 เมตร, การวัดแรงบีบมือ, การลุก-นั่ง 60 วินาที, การวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง และการนั่งก้มตัวไปข้างหน้า เท่ากับ 1.00 .98 .97 1.00 และ .96 สำหรับเพศชายและ .99 .97 .99 .99 และ .99 สำหรับเพศหญิงตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeDevelopes the physical performance test for Thai people in early adulthood. This study was done by means of analysis and synthesis of factors and items of physical performance and indicators of physical health as approved by 17 specialists. The subjects were 1,451 males and 1,887 females, 20-35 years of age, chosen through accidental and purposive random sampling from all regions of the country. The data were analysed in terms of means, standard deviations, medians, quartile range 1st - 3rd, index of congruence, canonical correlation, t-test, Pearon's coefficient correlation and percentile. The results were as follows : 1. The factors of physical performance were comprised of cardio-respiratory endurance, muscular strength, muscular endurance, body composition and flexibility. Test items of these factors were 1,600-meter run-walk, hand grip strenth, 60-second sit-up, skinfold fat thickness and sit and reach, respectively. 2. The canonical correlation between the result of physical performance test and measurement of indicators of physical health were .80 for males and .87 for females and were significantly at the .01 level. 3. The physical performance test for Thai people in early adulthood also had the content, concurrent and construct validity. The reliabilities of the test items in 1,600-meter run-walk, hand grip strength, 60-second sit-up, skinfold fat thickness and sit and reach were 1.00, .98, .97, 1.00 and .96 for males; and .99, .97, .99, .99 and .99 for females, repectively, and were significantly at the .01 level.en
dc.format.extent1049362 bytes-
dc.format.extent886004 bytes-
dc.format.extent2674597 bytes-
dc.format.extent994142 bytes-
dc.format.extent1580735 bytes-
dc.format.extent1016951 bytes-
dc.format.extent1845634 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสมรรถภาพทางกาย -- การทดสอบen
dc.subjectแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายen
dc.subjectสุขภาพen
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับคนไทยวัยผู้ใหญ่ตอนต้นen
dc.title.alternativeDevelopment of physical performance test for Thai people in early adulthooden
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSilpachai.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorTaweewat.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vibool_Ja_front.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Vibool_Ja_ch1.pdf865.24 kBAdobe PDFView/Open
Vibool_Ja_ch2.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open
Vibool_Ja_ch3.pdf970.84 kBAdobe PDFView/Open
Vibool_Ja_ch4.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Vibool_Ja_ch5.pdf993.12 kBAdobe PDFView/Open
Vibool_Ja_back.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.