Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-08-20T09:18:24Z-
dc.date.available2010-08-20T09:18:24Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13270-
dc.descriptionคณะผู้วิจัย: เกรียงศักดิ์ ไกรวัฒนวงศ์, อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ, กมลชนก ปานสง่า, ธนิษฐา ประสิทธิ์วุฒิศักดิ์, สมศักดิ์ บุรกรณ์en
dc.description.abstractศึกษาการสังเคราะห์คาร์บอนกัมมันต์จากไม้ยูคาลิปตัสและศึกษาความเป็นไปได้ในการนำกากคาร์บอนซึ่งผ่านกระบวนการล้างด้วยกรดไฮโดรคลอริกแล้วอบแห้ง การสังเคราะห์คาร์บอนกัมมันต์จากไม้ยูคาลิปตัสประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ การเผาไหม้ยูคาลิปตัสภายใต้บรรยากาศของก๊าซไนโตรเจน การกระตุ้นถ่านชาร์ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 40% โดยน้ำหนัก แล้วนำมาทดสอบการดูดซับไอโอดีนและเมทิลีนบลู จากการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเผาไม้ยูคาลิปตัสภายใต้บรรยากาศของก๊าซไนโตรเจนคือ อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 45 นาที ที่อัตราการให้ความร้อน 10 องศาเซลเซียสต่อนาที จะได้ร้อยละผลิตภัณฑ์ 25.49 และร้อยละคาร์บอนคงตัว 73.88 สำหรับการกระตุ้นทางเคมีด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 40% โดยน้ำหนัก พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการกระตุ้นถ่านชาร์ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 40% โดยน้ำหนักคือ อุณหภูมิในการกระตุ้น 500 องศาเซลเซียสและใช้เวลา 120 นาที ในส่วนการทดสอบการดูดซับไอโอดีนของคาร์บอนกัมมันต์ที่กระตุ้นด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 40% โดยน้ำหนัก คาร์บอนกัมมันต์ทางการค้า และกากคาร์บอน พบว่ามีค่าการดูดซับไอโอดีน 709, 715 และ 670 มิลลิกรัมไอโอดีนที่ดูดซับได้ต่อกรัมคาร์บอนกัมมันต์ ตามลำดับ ส่วนการดูดซับเมทิลีนบลู พบว่ามีค่าการดูดซับเมทิลีนบลูเท่ากับ 196, 204 และ112 มิลลิกรัม เมทิลีนบลูที่ดูดซับได้ต่อกรัมคาร์บอนกัมมันต์ ตามลำดับ จากการทดลองดังกล่าว จะเห็นได้ว่าคาร์บอนกัมมันต์ที่กระตุ้นด้วยสารละลายสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 40% โดยน้ำหนัก มีความสามารถในการดูดซับไอโอดีนและเมทิลีนบลูใกล้เคียงกับคาร์บอนกัมมันต์ทางการค้า สำหรับกากคาร์บอนที่ไม่ได้มีการกระตุ้นใดๆ เพิ่มเติม มีค่าการดูดซับน้อยกว่าคาร์บอนกัมมันต์ที่กระตุ้นด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 40% โดยน้ำหนักไม่มากen
dc.description.abstractalternativeThis research synthesized activated carbon from eucalyptus wood and studied the possibility in using unburned carbon washing with HCI and drying. Eucalyptus wood was carbonized in nitrogen atmosphere and activated by 40-wt% sodium hydroxide solution. The adsorption capacity was studied by adsorption of iodine and methylene blue solution. The best condition for carbonization in this work is at 500 degree celsius for 45 minutes with the heating rate of 10 degree celsius/min obtaining 25.49% yield and 73.88% fixed carbon, and the best condition for activation is at 500 degree celsius for 120 minutes. The iodine numbers of the activated by 40-wt% sodium hydroxide solution, commercial activated carbon are 709, 715 and 670 mg/g, respectively. In case of methylene blue, the adsorbed values are 196, 204, 112 mg/g, respectively. It is found that the activated carbon activated by 40-wt% sodium hydroxide solution and the commercial one gave almost the same adsorption results. In addition, the unburned carbon which was not activated showed not much different adsorption results.en
dc.description.sponsorshipเงินทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยร่วมภาครัฐ-เอกชน ประจำปีงบประมาณ 2545en
dc.format.extent4297038 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์en
dc.subjectกากคาร์บอนen
dc.subjectยูคาลิปตัสen
dc.subjectการดูดซับทางเคมีen
dc.subjectการใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์en
dc.titleการสังเคราะห์คาร์บอนกัมมันต์จากกากคาร์บอนและไม้ยูคาลิปตัส : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en
dc.title.alternativeSynthesis of activated carbon from unburned carbon and eucalyptus wooden
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorWiwut.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiwut_Carbon.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.