Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ ยอดมณี-
dc.contributor.authorวิรัช เนติธรรมาภิมุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-26T17:49:34Z-
dc.date.available2012-11-26T17:49:34Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745632391-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26273-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractข้าราชการและพนักงานของรัฐเป็นแกนกลางระหว่างรัฐกับประชาชนเป็นผู้นำเอากฎหมาย ระเบียบ แบบแผน และนโยบายของรัฐบาลมาปฎิบัติ เมื่อใดที่ข้าราชการและพนักงานของรัฐมิได้ทำหน้าที่ของตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริตแล้ว ย่อมจะนำความเดือดร้อนมาสู่ประชาชน เกิดความเสื่อมเสียแก่รัฐและบางครั้งเป็นเหตุให้ประเทศชาติประสบกับความหายนะถึงกับสูญเสียเอกราชและอธิปไตย การรับสินบนเป็นส่วนหนึ่งและเป็นส่วนที่สำคัญของปัญหาดังกล่าว อันเป็นการทำลายความบริสุทธิ์แห่งอำนาจรัฐและสภาพธรรมชาติของความผิดแล้ว เป็นความผิดที่ยากแก่การป้องกันและปราบปรามเพื่อลดปัญหา เนื่องจากประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายอื่นที่บัญญัติถือว่าการกระทำดังกล่าวเป็นความผิดได้บัญญัติเอาผิดและกำหนดโทษไว้ทั้งผู้ให้และผู้รับสินบนทำให้เกิดอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามเพื่อลดปัญหาหลายประการ เช่น ปัญหาขาดพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความผิด เป็นต้น โดยที่ปัจจุบันจุดประสงค์ของการลงโทษเปลี่ยนจากการแก้แค้น (Retribution) มาสู่การป้องกันทั่วไป (General Prevention) ซึ่งหมายถึงสภาพบังคับของกฎหมายอาญาและกลไกของกฎหมายจะมีอิทธิพลต่อความรู้และทัศนคติของประชาชนทุกคนในสังคม ทำให้ทราบว่าควรประพฤติหรือไม่ประพฤติในสิ่งที่สังคมไม่พึงปรารถนาอย่างไรการป้องกันทั่วไปจะบรรลุผล ถ้าประชาชนละเว้นการฝ่าฝืนกฎหมาย โดยที่ไม่สามารถดำเนินคดีแก่ผู้กระทำความผิดได้ ด้วยเหตุผลของอุปสรรคที่เกิดขึ้นโดยสภาพธรรมชาติของความผิดเอง การวิจัยนี้จึงมุ่งแก้ปัญหาดังกล่าวและพบว่าเห็นสมควรยกเว้นโทษ (Excusation) ให้แก่ผู้กระทำความผิดฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการพิสูจน์ความผิดของผู้กระทำผิดฝ่ายตรงข้าม อันเป็นเหตุผลทางนโยบายทางอาญา (Criminal Policy) ที่สามารถกระทำได้เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและปราบปราม เพื่อลดปัญหาดังกล่าว และการที่รัฐสามารถลงโทษผู้กระทำความผิดได้นั้น ทำให้ทฤษฎีข่มขู่ (Deterrence) อันเป็นแนวความคิดที่อยู่เบื้องหลังฐานความผิดบรรลุผล อันเป็นการป้องกันทั่วไป (General prevention) กล่าวคือ การปราบปรามไม่ให้ผู้กระทำผิดนั้น คิดทำผิดขึ้นอีก และป้องกันไม่ให้คนอื่นเอาอย่างทำผิดอย่างนั้นขึ้นบ้าง-
dc.description.abstractalternativeOfficial and civil servants are the axis between the Government and the people. If Government officials do not exercise the power properly and honestly, they will bring troubles to the people, causing damages and calamity to the country or even to lose its soverigenty because they are the ones who enforce laws, regulations, traditions as well as to implement Government’s policies. Corruption is one of the big causes of the problems. It erodes the Government’s authority and it is a very difficult problem to suppress and to reduce. The Penal Code as well other legislations state their penalty both the one who gives and the one who takes bribe. And lack of evidence to prove the guilt is a big obstruction to suppression. At present the aim of penalty changes from revenge to general grevention which means that the enforcement of the Criminal laws and the mechanism of laws will influence the attitude of people from all walks of life to dictate them whether or not they should behave in a way undesirable to the society. Anyway, the prevention will be effective if people refrain from violating the law. As no prosecution can be made against the guilty one as the obstruction of the nature of the corruption. This research is aimed at finding a salution and we see that an amnesty should be given to either party so as to obtain evidences to prove his guilt. For criminal policy, this can be done in order to suppress and reduce the said problems. If the Government can bring him to court for sentences, it could be a deterrent to threats which is a trend behind the action. It also serves as a general prevention, for instance, it can prevent the guilty person to repeat his wrong – deeds and to set sample for others not to follow.-
dc.format.extent1576443 bytes-
dc.format.extent1444190 bytes-
dc.format.extent1999582 bytes-
dc.format.extent2104522 bytes-
dc.format.extent1272400 bytes-
dc.format.extent710572 bytes-
dc.format.extent651712 bytes-
dc.format.extent480493 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการยกเว้นโทษในฐานความผิดเกี่ยวกับการรับหรือให้สินบน ตามประมวลกฎหมายอาญาen
dc.title.alternativeThe exculpation of crime of malfeasence in office in penal codeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiruch_Ne_front.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_ch1.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_ch2.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_ch3.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_ch4.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_ch5.pdf693.92 kBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_ch6.pdf636.44 kBAdobe PDFView/Open
Wiruch_Ne_back.pdf469.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.