Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ กาญจนกิจ
dc.contributor.authorสมศักดิ์ โตสกุล
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-29T08:59:01Z
dc.date.available2012-11-29T08:59:01Z
dc.date.issued2518
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26972
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1. ศึกษาความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนชายอายุระหว่าง 12 – 16 ปี 2.ศึกษาว่านักเรียนชายระดับอายุเท่าไรจะมีความคล่องแคล่วว่องไวสูงสุด 3.ต้องการศึกษาผลร่วมระหว่างน้ำหนักส่วนสูงที่มีผลต่อความคล่องแคล่วว่องไว วิธีดำเนินงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดลพบุรีจำนวน 500 คน แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มๆละ 100 คนเครื่องมือที่ใช้ในการสอบ เป็นแบบสอบมาตรฐานความคล่องแคล่วว่องไวของ เกตท์ และเชฟฟิลด์การสอบประกอบด้วย 3 รายการคือ วิ่งกลับตัว วิ่งซิกแซก และวิ่งอ้อมจุด ผู้รับการสอบแต่ละคนจะต้องปฏิบัติทั้ง 3 รายการติดต่อกัน นำคะแนนของความคล่องแคล่วว่องไววิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวสอบความแตกต่างเป็นรายคู่และความแปรปรวนสองทางแบบจำนวนไม่เท่ากัน ข้อค้นพบ 1. นักเรียนชายอายุระหว่าง 12 – 16 ปี มีความคล่องแคล่วว่องไวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 นักเรียนชายที่มีอายุ 16 ปี มีความคล่องแคล่วว่องไวสูงสุดรองลงมาคือนักเรียนชายที่อายุ 15, 14, 13 และ 12 ปีตามลำดับ 2. น้ำหนักและส่วนสูงไม่มีผลต่อความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนชายที่มีอายุระหว่าง 12 – 16 ปี กล่าวคือ น้ำหนักและส่วนสูงไม่ใช่เป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้ความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนชายที่มีอายุในช่วงดังกล่าวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this study was to find out the agility of male students age twelve to sixteen and its relation to their weight, and height. The sample of the study comprised of 500 male students of upper elementary and lower secondary levels in Lobburi. These students were equally divided into five groups. Each student was tested by Getes and Sheffield’s Agility Standard Test. The test in cluded three activities : Shuttle, Zigzag, and Loop-the-Loop Runs. Major Findings were as Follows : 1. The agility of the students between the ages of twelve to sixteen was significantly different at the level of .01. The sixteen year old students had the highest agility. The agility levels of the rest could be ranked according to their ages…15, 14, 13 and 12 years, respectively. 2. Weight and Height were neither affect nor important factors of the agility of the twelve to sixteen year old students at the .05.
dc.format.extent377986 bytes
dc.format.extent927241 bytes
dc.format.extent378231 bytes
dc.format.extent378150 bytes
dc.format.extent330827 bytes
dc.format.extent1068075 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสมรรถภาพทางกาย
dc.titleความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนอายุระหว่าง 12-16 ปีen
dc.title.alternativeAgility of male students between the ages of twelve-sixteen yearsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_To_front.pdf369.13 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_To_ch1.pdf905.51 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_To_ch2.pdf369.37 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_To_ch3.pdf369.29 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_To_ch4.pdf323.07 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_To_back.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.