Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ
dc.contributor.authorสมศรี วงศ์สิโรจน์กุล
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-29T10:04:26Z
dc.date.available2012-11-29T10:04:26Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745669172
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27007
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1. เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสาร ความทันสมัย กับความรู้หลักการปฏิบัติทางสุขภาพอนามัยและทัศนคติต่อบุคลากรสังคม 2. เพื่อทราบปัจจัยที่สามารถอธิบายความแตกต่างของความรู้หลักการปฏิบัติทางสุขภาพอนามัยและทัศนคติต่อบุคลากรสังคม ในการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาเฉพาะเกษตรกรในโครงการทดลองฟื้นฟูสภาพป่า เขาภูหลวง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 277 คนโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบ Random Sampling และทดสอบสมมุติฐานด้วยเทคนิคทางสถิติคือ การหาค่าความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสมการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พอสรุปได้ดังนี้ 1. อายุ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับการติดต่อกับสังคมภายนอกการศึกษามีความสัมพันธ์เชิงบอวกกับการเปิดรับสื่อมวลชนและการติดต่อกับสังคมภายนอก 2. อายุมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความทันสมัย ได้ค่า r = -0.2533 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 การศึกษามีความสัมพันธ์กับความทันสมัยในเชิงบวก ได้ค่า r = 0.4399 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 3. อายุ การศึกษา ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับความรู้หลักการสาธารณสุข และสุขภาพอนามัย, ระดับความรู้เกี่ยวกับหลักการอนามัยแม่และเด็ก แต่พบว่าอายุมีความสัมพันธ์เชิงลบกับระดับเจตคติต่อการคุมกำเนิด และเชิงบวกกับระดับความคิดเห็นที่มีต่อเจ้าหน้าที่ทางราชการ ส่วนการศึกษา พบว่า มีความสัมพันธ์กับระดับเจตคติต่อการคุมกำเนิด, ระดับความสัมพันธ์ทางสังคมในเชิงบวก 4. ปัจจัยการเปิดรับสารทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับปัจจัยความทันสมัยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ยกเว้น ปัจจัยการสื่อสารระหว่างบุคคลที่ไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยความทันสมัยคือ การปลีกตัวออกจากสังคม 5. การเปิดรับหนังสือพิมพ์มีค่าความสัมพันธ์สูงสุดกับระดับความรู้หลักการปฏิบัติทางสาธารณสุขและสุขภาพอนามัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติการเดินทางออกนอกหมู่บ้านมีความสัมพันธ์กับระดับความรู้เกี่ยวกับหลักการอนามัยแม่และเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การพบปะพูดคุยกับเพื่อนบ้านมีค่าความสัมพันธ์สูงสุดกับระดับเจตคติต่อการคุมกำเนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การพบปะพูดคุยกับคนต่างถิ่นมีความสัมพันธ์เชิงลบกับระดับความคิดเห็นที่มีต่อเจ้าหน้าที่บ้านเมือง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การสื่อสารระหว่างบุคคลมีค่าความสัมพันธ์สูงสุดกับระดับความสัมพันธ์ทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were two folds as follows: 1. To study the relationships among age, education, communication exposure behavior, modernity, knowledge on health practice and attitude toward community personnel. 2. To study factors being able to best explain knowledge of health practice and attitude toward community personnels. Two hundred and seventy-seven farmers living in forest community were randomly selected and interviewed with structured questionnaire. Findings: 1. Age is negatively correlated with cosmopoliteness. Education is positively correlated with mass media exposure and cosmopoliteness. 2. Age is negatively correlated with modernity, r = -0.2533 at P = 0.05. Education is positively correlated with modernity, r = 0.4399 at P = 0.05. 3. Age is negatively correlated with attitude on birth control and positively with attitude toward governmental officers. Education is foun to be correlated positively with attitude on birth control and community personnel 4. All communication factors are related with modernity at P = 0.05 5. Newspaper Exposure is highly correlated with knowledge on public health care. Cosmopoliteness is associated with knowledge of mother & child care. Contact with neighbors is highly correlated with attitude on birth control. Contact with Outsiders is correlated negatively with attitude toward governmental officers. Interpersonal communication is highly associated with social contact. 6. Modernity is highly correlated with attitude toward birth control practice. 7. Communication exposure and modernity can best explain knowledge on health practice and attitude toward community personnels.
dc.format.extent486978 bytes
dc.format.extent572559 bytes
dc.format.extent1169275 bytes
dc.format.extent335071 bytes
dc.format.extent871043 bytes
dc.format.extent488734 bytes
dc.format.extent888753 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับสาร ความทันสมัยกับความรู้หลักการปฏิบัติทางสุขภาพอนามัย และทัศนคติต่อบุคลากรสังคม : ศึกษาเฉพาะเกษตรกร ในโครงการทดลองฟื้นฟูสภาพป่าเขาภูหลวง จังหวัดนครราชสีมาen
dc.title.alternativeRelationship among communication exposure behavior, modernity, knowledge on health practic and attitude toward community personnels: a study of farmers in the diversified forest rehabilitation Phuluang Project, Nakron Ratchasima Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsri_Vo_front.pdf475.56 kBAdobe PDFView/Open
Somsri_Vo_ch1.pdf559.14 kBAdobe PDFView/Open
Somsri_Vo_ch2.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_Vo_ch3.pdf327.22 kBAdobe PDFView/Open
Somsri_Vo_ch4.pdf850.63 kBAdobe PDFView/Open
Somsri_Vo_ch5.pdf477.28 kBAdobe PDFView/Open
Somsri_Vo_back.pdf867.92 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.