Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.advisorมานิจ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.authorวรวิทย์ ลีลาวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคเหนือ)-
dc.date.accessioned2013-07-13T04:28:58Z-
dc.date.available2013-07-13T04:28:58Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33050-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractศึกษาการใช้ประโยชน์จากแกสิฟิเคชันในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ทางภาคเหนือของประเทศไทย จากการศึกษาวิเคราะห์คำนวณมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราส่วนมูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนต่อต้นทุน (BCR) และอัตราผลตอบแทนของการลงทุน (IRR) พบว่า (1) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ฟางข้าวเป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดเล็กคำนวณค่า NPV = -7,052,372.28 บาท และ BCR = -1.35 และ IRR = 0% (2) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ชีวมวลยอดใบอ้อยเป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดเล็กเล็กคำนวณค่า NPV = 2,721,453.89 บาท BCR = 1.90 และ IRR = 16% (3) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ถ่านหินแอนทราไซท์เป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดเล็กคำนวณค่า NPV = 35,087,286.11 บาท BCR = 12.69 และ IRR = 110% (4) แกสิฟิเคชันที่ใช้ฟางข้าวเป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดกลางคำนวณค่า NPV มีค่าเท่ากับ 67,966,347.27 บาท BCR = 4.12 และ IRR = 36% (5) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ชีวมวลยอดใบอ้อยเป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดกลางคำนวณค่า NPV = 126,297,570.19 บาท BCR = 6.79 และ IRR = 59% (6) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ถ่านหินแอนทราไซท์เป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดกลางคำนวณค่า NPV = 320,700,411.10 บาท BCR = 15.71 และ IRR = 136% (7) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ฟางข้าวเป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดใหญ่คำนวณค่า NPV = 378,898,929.97 บาท BCR = 6.34 และ IRR = 55% (8) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ชีวมวลยอดใบอ้อยเป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดใหญ่คำนวณค่า NPV = 613,470,765.57 บาท BCR = 9.64 และ IRR = 84% (9) ระบบแกสิฟิเคชันที่ใช้ถ่านหินแอนทราไซท์เป็นเชื้อเพลิงของโรงงานขนาดใหญ่คำนวณค่า NPV = 1,390,250,836.59 บาท BCR = 20.58 และ IRR = 178% จากผลการศึกษาพบว่า มีเพียงระบบที่ 1 มีค่าไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนและระบบที่เหลือ 8 ระบบมีความคุ้มค่าต่อการลงทุน โดยมีตัวเลขตามการคำนวณข้างต้น โดยมีระบบที่ 9 มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนมากที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeTo study of gasification application in ceramics industry in the northern part of Thailand. After analyzing Net Present Value (NPV), Benefit Cost Ratio (BCR) and Internal Rate of Return (IRR) the research found that. (1) NPV of gasification system which uses rice straw as fuel in small factory is 7,052,372.28 Baht and BCR is -1.35 and IRR equals to 0%. (2) NPV of gasification system which uses sugar cane as fuel in small factory is 2,721,453.89 Baht, BCR is 1.90 and IRR equals to 16%. (3) NPV of gasification system which uses anthracite as fuel in small factory is 35,087,286.11 Baht, BCR is 12.69 and IRR equals to110%. (4) NPV of gasification system which uses rice straw as fuel in medium factory is 67,966,347.27 Baht, BCR is 4.12 and IRR equals to 36%. (5) NPV of gasification system which uses sugar cane as fuel in medium factory is 126,297,570.19 Baht, BCR is 6.79 and IRR equals to 59%. (6) NPV of gasification system which uses anthracite as fuel in medium factory is 320,700,411.10 Baht, BCR is 15.71 and IRR equals to 136%. (7) NPV of gasification system which uses rice straw as fuel in large factory is 378,898,929.97 Baht, BCR is 6.34 and IRR equals to 55%. (8) NPV of gasification system which uses sugar cane as fuel in large factory is 613,470,765.57 Baht, BCR is 9.64 and IRR equals to 84% (9) NPV of gasification system which uses anthracite as fuel in large factory is 1,390,250,836.59 Baht, BCR is 20.58 and IRR equals to 178%. The results show that all systems are feasible for investment except the system 1. And, the system 9 is the best alternative for investment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.865-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแกสซิฟิเคชันของชีวมวลen_US
dc.subjectการใช้ในอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectBiomass gasificationen_US
dc.subjectIndustrial applicationsen_US
dc.subjectCeramic industries -- Thailand, Northernen_US
dc.titleการศึกษาการใช้ประโยชน์จากแกสิฟิเคชันในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ทางภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeStudy of gasification applications in ceramics industry in the northern part of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichan.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorManit.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.865-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wolawit_le.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.