Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนรลักขณ์ เอื้อกิจ-
dc.contributor.authorเพชรลดา สีขาว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-08-21T02:50:41Z-
dc.date.available2013-08-21T02:50:41Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรมควบคุมน้ำหนักของนักเรียนหญิงที่มีภาวะโภชนาการเกิน ประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคของโรเจอร์ (1986) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนหญิงในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 30 คนและกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน ด้วยการจับคู่ให้มีลักษณะคล้ายคลึงกัน กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับ กิจกรรมได้แก่ การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเอง การอภิปรายกลุ่มและได้รับความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามพฤติกรรมควบคุมน้ำหนัก แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงและแบบสอบถามการรับรู้โอกาสเสี่ยง เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน และหาค่าความเที่ยงสัมประสิทธ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .90 ,.87 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมควบคุมน้ำหนักของนักเรียนหญิงที่มีภาวะโภชนาการเกินหลังการได้รับโปรแกรมดีกว่าก่อนเข้ารับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญที่ระดับ .05 (2) คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมควบคุมน้ำหนักของกลุ่มนักเรียนหญิงที่มีภาวะโภชนาการเกินที่ได้รับโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมควบคุมน้ำหนักดีกว่ากลุ่มนักเรียนหญิงที่มีภาวะโภชนาการเกินที่ดำเนินชีวิตตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญที่ระดับ .0en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research was to study the effect of motivation enhancing program for weight control behavior among overweight female school chidren. The protective motivention theory was used as the conceptual framework to develop the program in this study. The subjects were the fourth to sixth graders female school chidren. A math pair technique was used to assign 30 subjects into the experimental group and the other 30 subjects into the control group. The control group received usual knowledge, while the experimental group received the nutritional assessment discussion and games focusing dietiy and exercise. Data collection instruments comprised of the weigth control questionnaires, perceived severity and perceived vulnerability questionaires. The program and questionnaires were examined to ensure content validity by 6 experts. The reliabilites were .90, .87 and .85 respectively. Deseriptive Statictise and t-test were used to analyze the data. 1. Behavior for weight control among overweight female school chidren receiving the motivation enhancing program at posttest was significantly better than that of pretest at the .05 level. 2. Behavior for weight control among overweight female school chidren in the experimental group receiving the motivation enhancing program at posttest was significantly better than that of the control group at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.597-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา) -- แง่อนามัยen_US
dc.subjectเด็กน้ำหนักเกิน -- การรักษาen_US
dc.subjectMotivation (Psychology) -- Health aspectsen_US
dc.subjectOverweight children -- Treatmenten_US
dc.titleผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรมควบคุมน้ำหนักของนักเรียนหญิงที่มีภาวะโภชนาการเกินen_US
dc.title.alternativeThe effect of motivation enhancing program for weight control behavior among overweight female school chidrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornoraluk@myrealbox.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.597-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phetlada_se.pdf9.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.