Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุดมลักษณ์ กุลพิจิตร-
dc.contributor.authorพิชญ์ ขำมา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-27T02:21:39Z-
dc.date.available2007-08-27T02:21:39Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741307993-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3868-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมจริยธรรมทางสังคมของเด็กวัยอนุบาลด้านกลวิธีการเจรจาเพื่อหาข้อตกลงร่วมกัน ด้านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน และด้านความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเพื่อนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ โดยการใช้การอภิปรายเพื่อแก้สถานการณ์ที่มีข้อขัดแย้งทางจริยธรรมในนิทานที่มีทางสองแพร่ง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ เด็กวัยอนุบาลชั้นปีที่ 2 อายุ 5-6 ปี จำนวน 32 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 16 คน กลุ่มควบคุม 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกตพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยอนุบาล ประกอบด้วย สถานการณ์ในการทดสอบจริยธรรมทางสังคม 2 สถานการณ์คือสถานการณ์การเล่นเกมบันไดงู กับสถานการณ์การแบ่งรูปภาพ รหัสและคู่มือการลงรหัสจริยธรรมทางสังคม แบบบันทึกพฤติกรรม และแบบบันทึกผลคะแนน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกตพฤติกรรมทางสังคมด้านความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเพื่อน ประกอบด้วย แบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรม ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนจริยธรรมทางสังคมด้านกลวิธีการเจรจาเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันระดับ 2 สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนจริยธรรมทางสังคมด้านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันระดับ 2 สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนจริยธรรมทางสังคมด้านความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเพื่อน สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of the promotion of the constructivist-based sociomoral of preschoolers on shared experiences, negotiation strategies, and interactions among children relationships by using discussion on moral conflict resolution in dilemma story. The subjects were thirty-two preschoolers ages five to six, devided into 2 groups; 16 in the experimental group and 16 in the control group. Investigating tools used in this study were: (1) instruments for observation on sociomoral behaviors of preschoolers, consisting of snake ladder game and pictures dividing situation, behavior categories and coding manual of preschoolers, behavior record of preschoolers, and tabulating form, (2) instruments for observation on interactions among children relationships, consisting of preschoolers behavior categories and coding manual. The results of the study were as followed: 1. After the study, the scores of the experimental group on negotiation stategies level 2 were significantly higher than scores of the control group at the .01 level. 2. After the study, the scores of the experimental group on shared experiences level 2 were significantly higher than scores of the control group at the .01 level. 3. After the study, the scores of the experimental group on interaction among children relationships were singnificantly higher than scores of the control group at the .05 levelen
dc.format.extent6660136 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจริยธรรมen
dc.subjectทฤษฎีสรรคนิยมen
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาลen
dc.titleผลของการส่งเสริมจริยธรรมทางสังคมตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ของเด็กวัยอนุบาลโดยการใช้การอภิปรายเพื่อแก้สถานการณ์ที่มีข้อขัดแย้งทางจริยธรรมในนิทานที่มีสองแพร่งen
dc.title.alternativeEffect of the promotion of the constructivist-based sociomoral of preschoolers by using discussion on moral conflict resolution in dilemma storyen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUdomluck.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pich.pdf14.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.