Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51632
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์
dc.contributor.authorชลภัฏฐ์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned2017-02-02T06:30:32Z
dc.date.available2017-02-02T06:30:32Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51632
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ทางจิตใจในการเปลี่ยนผ่านจาก การเรียนสู่การทำงานของผู้ที่เพิ่งสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใช้ระเบียบการวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฎการณ์วิทยาและได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกบัณฑิต ผู้กำลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากการเรียนสู่การทำงานจำนวน 12 ราย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเด็นดังนี้ 1)ความรู้สึกที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ความรู้สึกด้านลบและความรู้สึกด้านบวก โดยความรู้สึกด้านลบบุคคลจะเกิดความรู้สึกใจหายกับการเปลี่ยนแปลง ความรู้สึกกดดัน ความรู้สึกละอายใจและความรู้สึกท้อแท้ ส่วนในด้านความรู้สึกด้านบวกบุคคลจะมีความรู้สึกอิสระและความรู้สึกว่าตนมีทางเลือกในการทำงาน 2)ผู้อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากการเรียนสู่การทำงานมีการขาดความชัดเจนในตนเองคือการไม่ชัดเจนในความชอบและการไม่เห็นทางที่จะไป 3)การเผชิญกับปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยการจัดการกับความรู้สึกของตนเอง การรับมือกับปัญหาด้วยการกระทำและการรับการสนับสนุนจากคนรอบข้าง 4)การพยายามก้าวสู่โลกของการทำงาน โดยใช้การสำรวจตนเองทางอาชีพและ การดำเนินการสมัครงานและสัมภาษณ์งาน ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการทำความเข้าใจประสบการณ์ของผู้ที่กำลังอยู่ในระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากการเรียนสู่การทำงานที่ยังไม่ได้งานและเป็นข้อมูลสนับสนุนหน่วยงานและผู้ให้บริการการปรึกษาทางจิตวิทยาเชิงอาชีพen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research study is explored the transition from university to work of graduates students by using the phenomenological study method. Interviews of 12 university graduates students revealed that: 1) The feelings regarding the transition from university to work could be classified into 2 categories : positive and negative feelings. The negative ones include feeling frightened, pressured, shameful, and discouraged. The positive feeling include the recognition of ones independence and excitements of work options awaiting. 2) The persons who are in the transition from university to work could experience a lack of clarity in preferences and directions for future work. 3) The use of coping strategies in managing their own feelings, taking action and seeking social support was reported. 4) The attempting to step into the working world by exploring oneself and taking steps in job application was report. Findings can be used to clarify the transition from university to work of unemployed and can be informative for counselors and related organizations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2087-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลง (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectการเปลี่ยนทัศนคติen_US
dc.subjectWork -- Psychological aspects
dc.subjectChange (Psychology)
dc.subjectAttitude change
dc.titleประสบการณ์ทางจิตใจในภาวะการเปลี่ยนผ่านจากการเรียนสู่การทำงานของผู้ที่ยังไม่ได้งานทำวัยผู้ใหญ่ตอนต้นen_US
dc.title.alternativePsychological experiences in transitional state from university-to-work of unemployed early adulten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNattasuda.T@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2087-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
cholapatt_pa.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.