Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56476
Title: เพื่อนที่เหมาะกับคุณ : การทำนายสุขภาวะของเจ้าของสุนัขด้วยความแตกต่างระหว่างบุคลิกภาพของสุนัขในอุดมคติกับบุคลิกภาพของสุนัขที่เลี้ยงอยู่ในปัจจุบัน
Other Titles: SUITABLE FRIEND : DISCREPANCIES BETWEEN IDEAL PERSONALITY AND CURRENT PERSONALITY OF THEIR PETS PREDICTING OWNER’S WELL-BEING
Authors: ณัฐ พงษ์สามารถ
ศศิภัทร์ อิทธิโสภณพิศาล
Advisors: สักกพัฒน์ งามเอก
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
Advisor's Email: sakkapat.N@chula.ac.th
Subjects: เจ้าของสุนัข
การจำแนกประเภทบุคคล (จิตวิทยา)
Dog owners
Typology (Psychology)
Issue Date: 2558
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างกันระหว่างบุคลิกภาพของสุนัขที่เลี้ยงอยู่ในปัจจุบันกับบุคลิกภาพของสุนัขในอุดมคติเพื่อทำนายสุขภาวะของผู้เลี้ยง โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลที่เลี้ยงสุนัข อายุ 16-58 ปี ทั้งเพศหญิงและเพศชาย จำนวน 209 คน โดยมีเงื่อนไขคือผู้เข้าร่วมการวิจัยต้องเลี้ยงสุนัขอย่างน้อยระยะเวลา 6 เดือน และปัจจุบันยังคงเลี้ยงอยู่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบ Extravertion(⍺ = .720) และ Neuroticism (⍺ = .643),) มาตรวัดบุคลิกภาพของสุนัขด้าน realistic Fearfulness (⍺ = .742) กับ ideal Fearfulness (⍺ = .813), ด้าน realistic Aggression towards People (⍺ = .740) กับ ideal Aggression towards People (⍺ = .705), ด้าน realistic Activity-Excitability (⍺ = .661) กับ ideal Activity-Excitability (⍺ = .565), ด้าน realistic Responsive to Training (⍺ = .620) กับ ideal Responsive to Training (⍺ = .608), ด้าน realistic Aggression towards Animal (⍺ = .663) กับ ideal Aggression towards Animal (⍺ = .652) และมาตรวัดสุขภาวะ (⍺ = .730) ผลการวิจัยพบว่า ความแตกต่างกันระหว่างบุคลิกภาพของสุนัขที่เลี้ยงอยู่ในปัจจุบันกับบุคลิกภาพของสุนัขในอุดมคติสามารถทำนายสุขภาวะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .074, p < .01) โดยค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน (standardized regression coefficient) ของความแตกต่างด้านการตอบสนองต่อการฝึกเท่ากับ -0.10 (β = -.261, p < .01) ผลการวิจัยแสดงว่าความแตกต่างระหว่างบุคลิกภาพของสุนัขที่เลี้ยงอยู่ในปัจจุบันกับบุคลิกภาพของสุนัขในอุดมคติสามารถร่วมกันทำนายสุขภาวะของผู้เลี้ยงได้ โดยมีด้านความแตกต่างด้านการตอบสนองต่อการฝึกที่สามารถทำนายได้อย่างมีนัยสำคัญ
Other Abstract: Research’s purpose was to study the differences between the realistic dog’s personality and the owner ideal dog’s personality, in order to predict owner’s well-being. Participants were people who have had dog at least 6 months. Research instruments were Big Five Inventory(BFI) in Extravertion(⍺ = .720) and Neuroticism (⍺ = .643), Dog Personality Questionnaire(DPQ) in realistic Fearfulness (⍺ = .742)and ideal Fearfulness (⍺ = .813)/ in realistic Aggression towards People (⍺ = .740)and ideal Aggression towards People (⍺ = .705)/ in realistic Activity-Excitability (⍺ = .661)and ideal Activity-Excitability (⍺ = .565)/ in realistic Responsive to Training (⍺ = .620)and ideal Responsive to Training (⍺ = .608)/ in realistic Aggression towards Animal (⍺ = .663)and ideal Aggression towards Animal (⍺ = .652) and The Oxford Happiness Questionnaire(OHQ) (⍺ = .730) Results showed that the overall difference between the realistic dog’s personality and the ideal dog’s personality could significantly predict well-being (R2 = .074, p < .01). Especially, the standardized regression coefficient of responsiveness’s difference was -0.10 (β = .261, p < .01)
Description: โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56476
Type: Senior Project
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nut Po_et_al.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.