Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67300
Title: Ethylene polymerization using metallocene catalysts : cocatalyst systems
Other Titles: การเกิดพอลิเมอร์ของเอทธิลีน โดยใช้เมทาลโลซีนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา : ระบบของตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม
Authors: Chalermphol Wongdithnan
Advisors: Gulari, Erdogan
Nantaya Yanumet
Pramote Chaiyavech
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: No information provided
No information provided
No information provided
Subjects: Polymerization
Ethylene
Metallocene catalysts
Catalysts
โพลิเมอไรเซชัน
เอทิลีน
ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน
Issue Date: 1999
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Ethylene polymerization by bis(cyclopentadienyl) zirconium dichloride (Cp2ZrCl2)-tris(pentafluorophenyl) borane (B(C6F5)3) catalyst with trimethylaluminum (TMA) has been investigated. The cationic-like active species is formed in the ternary systems of Cp2,ZrCl2, TMA, and B (C6GF5)3. The results show that the productivity andcatalytic activity of Cp2ZrCI2,/B(C6F5)and Cp2,ZrCl2,/TMA are negligible when compared with Cp2,ZrCl2,/B(C6F5)3;/TMA system. The concentration of TMA in the reaction system plays a key role in the catalyst activity. Increasing (Zr] leads to increase in the productivity and the catalyst activity. Furthermore, the order of catalyst injection into the reactor also affects the productivity and activity of the polymerization reaction.
Other Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาการเกิดพอลิเมอร์ของเอทธิลีนโดยใช้ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่งประกอบ ด้วย บีส ไซโครเพนตะไดอีนิลเซอร์โคเนียมไดคลอไรด์ และ ทรีสเพนตะฟลูออโรฟีนิลโบเรน กับ ไตรเมททิลอะลูมินัม สารประจุบวกเสมือนซึ่งมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาสูงจะเกิดขึ้นใน ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยสารทั้ง 3 ชนิดนี้ จากผลการทดลองพบว่าระบบตัวเร่งปฏิกิริยา ที่ประกอบด้วย บีสไซโครเพนตะไดอีนิลเซอร์โคเนียมไดคลอไรด์/ทรีสเพนตะฟลูออโรฟีนิลโบ เรน หรือ บีสไซโครเพนตะไดอีนิลเซอร์โคเนียมไดคลอไรด์/ไตรเมททิลอะลูมินัม มีความสามารถ ในการเกิดปฏิกิริยาและผลผลิตน้อยมากเมื่อเทียบกับระบบตัวเร่งปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยบีสไซ โครเพนตะไดอีนิลเซอร์โคเนียมไดคลอไรด์ ทรีสเพนตะฟลูออโรฟีนิลโบแรน/ไตรเมททิลอะลูมิ นัม ปริมาณไตรเมททิลอะลูมินัมในระบบการเกิดปฏิกิริยามีผลอย่างมากต่อความสามารถในการ เกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา การเพิ่มขึ้นของปริมาณเซอร์โคเนียมทําให้ผลผลิตและความ สามารถในการเกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นลําดับในการฉีดตัวเร่งปฏิกิริยา เข้าในหม้อปฏิกิริยาก็มีผลต่อความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาและผลผลิตของปฏิกิริยาการเกิดพอ ลิเมอร์ด้วย
Description: Thesis (M.Sc.) -- Chulalongkorn University, 1999
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67300
ISBN: 9743318887
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalermphol_wo_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ815 kBAdobe PDFView/Open
Chalermphol_wo_ch1_p.pdfบทที่ 1666.85 kBAdobe PDFView/Open
Chalermphol_wo_ch2_p.pdfบทที่ 21.22 MBAdobe PDFView/Open
Chalermphol_wo_ch3_p.pdfบทที่ 3755.43 kBAdobe PDFView/Open
Chalermphol_wo_ch4_p.pdfบทที่ 4975.49 kBAdobe PDFView/Open
Chalermphol_wo_ch5_p.pdfบทที่ 5607.5 kBAdobe PDFView/Open
Chalermphol_wo_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.