Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67501
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉันทิชย์ โสตถิพันธุ์ | - |
dc.contributor.advisor | บุญอนันต์ วรรณพานิชย์ | - |
dc.contributor.author | สุเทพ ลุนหล้า | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T08:33:12Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T08:33:12Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741770715 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67501 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | หลักเกณฑ์ในการกำหนดค่าสินไหมทดแทนในคดีละเมิดที่รัฐต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกไม่มีกฎหมายเฉพาะกำหนดไว้อย่างแจ้งชัด มีเพียงที่ปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เท่านั้น อย่างไรก็ดี กรณีมีหลักทั่วไปว่า ค่าสินไหมทดแทนต้อง ชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริง ทั้งนี้ เพื่อให้กลับคืนสู่สถานะเดิมเสมือนไม่มีการกระทำละเมิด ดังนั้น ค่าสินไหมทดแทนจึงต้องสามารถพิสูจน์ได้ ไม่มีลักษณะที่เป็นการแสวงหา กำไรจากความเสียหาย และต้องไม่ช้ำซ้อนกับความเสียหายประเภทเดียวกัน จากการศึกษา แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองพบว่า การกำหนดค่าสินไหมทดแทนได้คำนึงถึงหลักทั่วไป ดังกล่าว และในคำพิพากษาหลายเรื่องได้อ้างอิงบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน ทั้งนี้ โดยมีกรอบในทางวิธีพิจารณาคือ หลักการไม่พิพากษาหรือมีคำสั่งเกินคำขอกรณีความเสียหายที่สามารถคำนวณเป็นเงินได้นั้น ต้องกำหนดตามความเสียหายที่แท้จริงเป็นหลักเกณฑ์สำคัญ ซึ่งยังครอบคลุมไปถึงความเสียหายที่คาดหมายได้อย่างแน่ชัดว่าจะได้รับด้วย ส่วนกรณีที่เป็นความเสียหายที่ไม่สามารถคำนวณเป็นเงินได้ โดยสภาพทำให้การกำหนดค่าสินไหมทดแทนทำได้ในจำนวนที่ ไม่แน่นอน ศาลจึงต้องอาศัยหลักทั่วไป โดยพิจารณาตามพฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด รวมทั้งยังต้องคำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น ฐานะบุคคล ครอบครัว ตำแหน่งหน้าที่การงานหรืออาชีพ เป็นต้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | Rules and regulations to determine compensation in liability cases, besides those provided in the Civil and Commercial code, are not specifically mentioned in any existing law. According to general principle, compensation shall be paid in accordance with actual damage so that its original state will be fully recovered as if no act of liability had ever occurred, while no profit shall be gained from said damage. In addition, the damage shall be verifiable and shall not be redundant in kind. In studying the Administrative Court's jurisprudence, the research find that the Court bases its rulings on a general principle and several sentences also show that the Court apply or refer explicitely to the Civil and Commercial Code. On the other hand, the procedural rule "ultra petita" must be respected. In case of pecuniary damage, the compensation shall be determined according to actual damage, including evident damage from which the aggrieved or injured party expects to suffer. For the non-pecuniary damage, the Court refers its rulings for cases to a general principle with discretion in accordance with circumstances and gravity of the liability. Furthermore, the Court shall take into consideration other relevant factors such as personal conditions, family background, professional or career stratus, and so forth. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ค่าสินไหมทดแทน | en_US |
dc.subject | กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- ละเมิด | en_US |
dc.subject | ความรับผิด (กฎหมาย) | en_US |
dc.subject | รัฐบาล | en_US |
dc.subject | Indemnity | en_US |
dc.subject | Liability (Law) | en_US |
dc.subject | Cabinet system | en_US |
dc.title | การกำหนดค่าสินไหมทดแทนในคดีละเมิดที่รัฐต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอก | en_US |
dc.title.alternative | Determination of compensation by court in state liability to third person | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Chantich.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthep_lo_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 969.92 kB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 737.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 3.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 5.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 748.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Suthep_lo_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.