Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68187
Title: การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสมในการวินิจฉัยภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ
Other Titles: The appropriate thyroid function test in the diagnosis of thyrotoxicosis
Authors: ธิติ สนับบุญ
Advisors: วิทยา ศรีดามา
วัชรี บัวชุม
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
Advisor's Email: Vitaya.S@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน
การวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ
Hyperthyroidism
Diagnosis, Laboratory
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวัดระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนเป็นขั้นตอนที่จําเป็นการวินิจฉัยภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ ซึ่งใน ปัจจุบันได้มีการพัฒนาประสิทธิภาพให้ดีขึ้นกว่าเดิมเป็นอันมาก พบว่ามีการเลือกใช้การวัดดังกล่าวกัน หลายรูปแบบ ได้แก่ การวัดธัยรอยด์ฮอร์โมนทั้งในรูป total form หรือ free form การเลือกตรวจกตัวจึงจะ เหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจากยังไม่มีแนวทางที่เป็นที่ตกลงกันโดยทั่วไปว่ารูปแบบใดเป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับ ผู้ป่วยในประเทศไทย ถึงแม้ในต่างประเทศเองหัวข้อดังกล่าวก็ยังเป็นสิ่งที่ยังถกเถียงกันอยู่ การวิจัยนี้เป็นการประเมินประสิทธิภาพการตรวจระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนว่ารูปแบบใดเป็นวิธีที่ เหมาะสมในการวินิจฉัยภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษในกรณีที่เป็นผู้ป่วยนอก โดยการคัดเลือกผู้ป่วยที่มี จํานวน 452 คนประกอบด้วยผู้ป่วยที่มีภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ จํานวน 206 คน ผู้ป่วยปกติ 207 คน ผู้ป่วย subclinical hyperthyroid 30 คน ผู้ป่วย subclinical hypothyroid 1 คน และผู้ป่วยที่มีภาวะต่อมธัย รอยด์ทํางานต่ํา 8 คน มาวัดระดับ total form ของธัยรอยด์ฮอร์โมนทั้ง thyroxine และ triiodothyronine free form ของธัยรอยด์ฮอร์โมน และ thyroid stimulating hormone ด้วยวิธี electrochemiluminescent assay แล้วนํามาเปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐาน (gold standard) คือ FT3, FT4 และ TSH ในแง่ความไว (sensitivity), ความจําเพาะ (specificity), positive predictive value, negative predictive value, false positive, false negative และ efficiency of test ซึ่งพบว่ามีอุบัติการณ์ของภาวะ T3 toxicosis สูงถึง 16.02% 14 toxicosis 2.91% สําหรับการวินิจฉัยภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษนั้น การเลือก FT3 กับ TSH เป็นวิธีที่ใกล้เคียงกับ gold standard มากที่สุดคือค่าความไว 97.57% ค่าความจําเพาะ 100% เมื่อเปรียบ เทียบกับการเลือก FT4 กับ TSH ซึ่งมีค่าความไว 83.98% ความจําเพาะ 100% การเลือก total form ทั้ง 2 ตัว คือ T3 และ T4 ซึ่งมีค่าความไว87.38% และความจําเพาะ 97.97% จากการศึกษานี้สามารถกําหนดแนวทางในการวินิจฉัยภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษสําหรับประเทศ ไทยว่า ควรเลือกตรวจด้วย FT3, TSH เป็นวิธีที่เหมาะสมในการวินิจฉัยภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ ใน กรณีที่เป็นผู้ป่วยนอก
Other Abstract: In the past decade there were many new progressions to increase the efficacy of thyroid function test, which is the essential tool to confirm diagnosis thyrotoxicosis. It is still the controversial issue to set guideline which type of thyroid function test is the most appropriate so there are varied types of this test that used presently. The aim of this study is to find the resolution of this issue by comparing types of thyroid function test in thyrotoxicosis patients with gold standard in sensitivity, specificity, positive predictive value,negative predictive value, false positive and false negative. 452 patients were included in this study, consisted of 206 thyrotoxicosis patients, 207 normal thyroid function test patients, 30 subclinical hyperthyroid patients, 1 subclinical hypothyroid patient and 8 hypothyroid patients. Total form of thyroid hormone, free form of thyroid hormone and thyroid stimulating hormone were measured by electrochemiluminescent assay. The efficacy in diagnosis thyrotoxicosis of FT3 and TSH is superior than FT4 and TSH, which is the recommendations of American Thyroid Association and American Family Physicians, due to higher incidence of T3 toxicosis in study. 16.02% compared with 1%. This study also shows the flaw of measurement thyroid hormone in the total form which lower efficacy compared to the free form of thyroid hormone. In conclusion: this study shows the efficacy of FT3 and TSH to diagnosis outpatient thyrotoxicosis and higher incidence of T3 toxicosis in our country. In other conditions which may be lowered level of FT3 such as inpatient with nonthyroidal illness, the gold standard test is suitable to use.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: อายุรศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68187
ISSN: 9743345558
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thiti_sn_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ870.59 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch1_p.pdfบทที่ 1755.79 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch2_p.pdfบทที่ 2940.21 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch3_p.pdfบทที่ 31.19 MBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch4_p.pdfบทที่ 4763.3 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch5_p.pdfบทที่ 5671.22 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch6_p.pdfบทที่ 6907.99 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch7_p.pdfบทที่ 7758.7 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_ch8_p.pdfบทที่ 8624.93 kBAdobe PDFView/Open
Thiti_sn_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก726.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.