Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68889
Title: เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าม้ง บ้านห้วยน้ำไซ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
Other Titles: Cultureal identity and culture change of Hmong Ban Huay Nam Sai Nakornthai district Pitsanulok province
Authors: ปรารถนา มงคลธวัช
Advisors: งามพิศ สัตย์สงวน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Ngampit.S@Chula.ac.th
Subjects: การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ม้ง -- ความเป็นอยู่และประเพณี
ชาวเขา -- ม้ง
วัฒนธรรม
บ้านห้วยน้ำไซ (พิษณุโลก)
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปัญหาวิจัยของวิทยานิพนธ์ เรื่อง เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชาวเขา เผ่าม้งบ้านห้วยน้ำไช อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก คือ ปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกช่วยรักษาเอกลักษณ์ทาง วัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าม้ง และมีสมมติฐาน 10 ข้อ ตามกรอบแนวคิดทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรม การวิจัยครั้งนี้ใช้ เทคนิควิจัยทางมานุษยวิทยา เช่น การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การสำรวจลักษณะทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน การสำรวจประชากร การสัมภาษณ์ผู้ให้ข่าวสำคัญ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และอื่น ๆ ผลวิจัยพบว่า จากสมมติฐาน 10 ข้อ มีอยู่ 8 ข้อที่เป็นไปตามสมมุติฐาน (ผู้นำทางการเมือง ผู้นำทาง ศาสนา ผู้นำทางการศึกษา ผู้นำทางเศรษฐกิจ ผู้นำทางศิลปะและนันทนาการ และการเพิ่มประชากรของชาวเขาเผ่าม้ง ซึ่งเป็นปัจจัยภายในช่วยรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ส่วนปัจจัยภายนอกช่วยรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ได้แก่ นักท่องเที่ยว และหน่วยงานของราชการ)
Other Abstract: The research problem for the thesis , Cultural Identity and Culture Change of Hmong Ban Huay Nam Sai , Nakomthai District Pitsanulok Province is what Inner and outer factors help conserve Hmong cultural identity with ten hypotheses drawn from socio - cultural theories. The empirical data to test the hypotheses were solicited Throngh anthropological methods, e.g., participant observation, physical and environmental survey, and indepth interviews supplimented by social survey. Out of ten hypotheses, 8 of which ( political leaders, religious leaders, educational leaders, economic leaders , recreational leaders and increased population together with inner factors of tourists and government organizations) were subs tantiated. The study results were then discussed, concluded and provided with interesting suggestions, theoretically and practically.
Description: วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: มานุษยวิทยามหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: มานุษยวิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68889
ISBN: 9746399713
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pratana_mo_front_p.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_ch1_p.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_ch2_p.pdf4.16 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_ch3_p.pdf5.95 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_ch4_p.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_ch5_p.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_ch6_p.pdf835.62 kBAdobe PDFView/Open
Pratana_mo_back_p.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.