Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6901
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรพัฒน์ อรรถยุกติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-15T04:36:33Z | - |
dc.date.available | 2008-05-15T04:36:33Z | - |
dc.date.issued | 2525 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6901 | - |
dc.description | โครงการวิจัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยและพัฒนาของคณะวิศวกรรมศาสตร์) ; เลขที่ 40-MRD-2521 | en |
dc.description.abstract | ผู้วิจัยได้ทำการถ่ายภาพหยดสารเหลวในคอลัมน์สกัดของเหลวในสภาพที่น้ำซึ่งเป็นเฟสหลักอยู่นิ่ง การถ่ายภาพหยดแบ่งเป็น 2 ประเภท ประเภทที่หนึ่ง ได้แก่ การถ่ายภาพเพื่อวัดขนาดของหยด ประเภทที่สอง ได้แก่ การถ่ายภาพโดยเปิดหน้ากล้องนาน เพื่อได้มาซึ่งความเร็วของแต่ละหยด ผลการถ่ายภาพแสดงให้เห็นว่าเฟสหยดไหลผ่านโดยมีโปรไฟล์ความเร็วที่ขึ้นกับรัศมีของท่อยาว และหยดที่มีความเร็วสูงสุดจะอยู่ตรงกลางท่อ สำหรับการทดลองทุกครั้งได้คำนวณเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของกลุ่มหยด (เป็นเส้นผ่าศูนย์กลางชอเตอร์) และจากนั้นสามารถคำนวณความเร็วสุดท้ายของหยดขนาดนั้น (Free Fall Velocity)และพบว่าความเร็วจริงของกลุ่มหยดซึ่งอยู่ตรงกลางของคอลัมน์ สูงกว่าความเร็วสุดท้ายของหยดขนาดเฉลี่ย และตรงกันข้ามพบว่ากลุ่มหยดซึ่งอยู่ในบริเวณผนังท่อมีความเร็วจริงที่ต่ำกว่าความเร็วสุดท้ายของหยดขนาดเฉลี่ย การถ่ายภาพหยดดังกล่าวได้แสดงปรากฏการณ์ที่ว่าหยดที่ไหลผ่านท่อยาว มีแนวโน้มจะเลื่อนมายังศูนย์กลางของคอลัมน์ ผู้วิจัยได้ประเมินการผสมย้อนกลับในเฟสหยดโดยวัดเบอร์เพเคล็ต และผลปรากฏว่าการไหลของเฟสหยดถือได้ว่าเป็นการไหลแบบทรงกระบอก หรือการไหลที่ใกล้การไหลแบบทรงกระบอกมาก จากการศึกษาการไหลของเฟสหยดในท่อยาวสรุปได้ว่ามีการหมุนเวียนในเฟสหลัก เป็นผลที่สอดคล้องกับข้อสังเกตของนักวิจัยอื่นที่ศึกษาเฟสหลัก ในที่สุดผู้วิจัยได้เสนอตุ๊กตาคณิตศาสตร์จำนวนหนึ่ง เพื่ออธิบายการถ่ายเทมวลสารในคอลัมน์แบบสเปรย์ โดยหลักการของการหมุนเวียนของเฟสหลักปรากฏอยู่ | en |
dc.description.abstractalternative | Photographic Studies of low holdup dispersed phase flow in a spray column with a stagnant continuous phase were made. Two sets of photographic experiments were conducted, one to obtain drop sizes, the other to obtain drop velocities using long exposures. The results indicate that the velocity profile of the dispersed phase flow depends on radial position within the column with the drops at the center having the greatest velocity. For all experiments this maximum drop velocity at the center is invariably higher than the estimated free fall velocity of a drop of a Sauter-Mean diameter size representing the entire drop population. Also for all experiments this estimated average drop free fall velocity is greater than the velocity of drops in the vicinity of the wall. A second set of results indicates that the drops tend to move towards the center of the column as they flow in the column. Estimations of dispersed phase dispersion through the calculation of Peclet numbers were made and the results indicate that for Engineering purposes the flow observed in this set of experiments was nearly piston flow. The hydrodynamic behavior of the dispersed phase agrees with the continuous phase recirculation in spray columns reported by other. Finally a few mass transfer models were presented that take into account this continuous phase recirculation. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนเสริมการวิจัยวิศวกรรมศาสตร์ | en |
dc.format.extent | 11392274 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ดิสเปอร์สเพส -- การไหล | en |
dc.subject | การไหล | en |
dc.subject | กลศาสตร์ | en |
dc.title | การศึกษาวิธีการไหลของดิสเปอร์สเฟสในท่อยาว | en |
dc.title.alternative | Studies of dispersed phase flow in column | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | woraphat@kiasia.org | - |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Worapat_phaseflow.pdf | 11.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.